Page 35 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 35
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-25
2.2 อณุ หภมู ิ โดยท ั่วไปส ิ่งม ีช ีวิตแ ต่ละช นิดจ ะส ามารถด ำ�รงช ีวิตในช ่วงข องอ ุณหภูมิห นึ่งท ี่เหมาะส ม
กับตัวเอง เนื่องจากปฏิกิริยาเคมีในร่างกายของสิ่งมีชีวิตจะมีเอนไซม์เป็นตัวควบคุมอัตราการเกิดปฏิกิริยา
โดยปกติอุณหภูมิที่เหมาะแก่การทำ�งานของเอนไซม์จะอยู่ระหว่าง 25-40 องศาเซลเซียส ถ้าอุณหภูมิสูง
เอนไซม์ซึ่งเป็นโปรตีนจะเสียสภาพ ทำ�ให้การเกิดปฏิกิริยาลดลง ส่งผลให้พฤติกรรมที่ดำ�เนินอยู่หยุดชะงัก
หรือล ดลง แต่อ ย่างไรก็ตาม สิ่งม ีชีวิตบ างช นิดสามารถด ำ�รงช ีวิตอ ยู่ในท ี่มีอุณหภูมิสูงมากๆ หรือตํ่าม ากๆ ได้
เช่น รา Rhizomucor pusillus ทีส่ ามารถเจริญเติบโตในท ีม่ อี ุณหภูมริ ะหว่าง 40-70 องศาเซลเซียส แบคทีเรีย
กลุม่ Listeria monocytogent ทมี่ อี ุณหภูมเิ หมาะส มต ่อก ารเจริญเติบโตร ะหว่าง 0-30 องศาเซลเซียส สำ�หรับ
อุณหภูมิท ี่ม ีผลต่อพฤติกรรรมของสัตว์ เช่น พฤติกรรมการอพยพ ย้ายถิ่นในฤดูหนาวของ นกบ างชนิด เช่น
การอพยพห นีห นาวข องน กน างแอ่นจ ากป ระเทศจีนม าหากินในประเทศไทย ในช่วงฤดูห นาว
2.3 แรธ่ าตุและแ ก๊ส ออกซิเจน คาร์บอน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และแร่ธาตุอื่นๆ เป็น
สิ่งจำ�เป็นที่สิ่งมีชีวิตทุกชนิดต้องการในกระบวนการดำ�รงชีพ พืชและสัตว์นำ�แร่ธาตุและแก๊สต่างๆ ไปใช้ใน
การสร้างอาหารแ ละโครงสร้างข องร ่างกาย ความต้องการแ ร่ธาตุแ ละแ ก๊สข องส ิ่งมีชีวิตจ ะมีความแ ตกต ่างกัน
และระบบนิเวศแ ต่ละระบบจะม ีแร่ธ าตุและแก๊สต ่างๆ เป็นองค์ป ระกอบในปริมาณแตกต ่างก ัน จึงเป็นป ัจจัย
สำ�คัญในก ารจำ�กัดชนิดแ ละปริมาณข องสิ่งมีชีวิต เช่น ระบบนิเวศป่าชายเลน ซึ่งเป็นดินเลน นํ้ากร่อย ก็จะม ี
พชื แ ละส ตั วท์ มี่ ลี กั ษณะเฉพาะแ ตกต า่ งจ ากส ิง่ ม ชี วี ติ ท พี่ บบ นบ ก เปน็ ตน้ นอกจากน ใี้ นร ะบบน เิ วศแ ตล่ ะแ หง่ จ ะ
มีการหมุนเวียนถ่ายเทแร่ธาตุและสารต่างๆ จากภายนอกเข้าสู่สิ่งมีช ีวิตและจากสิ่งม ีชีวิตกลับคืนสู่ธรรมชาติ
เป็นวัฏจักร
2.4 ความเปน็ กร ดเปน็ เบสข องด นิ แ ละน าํ้ สิง่ ม ชี ีวติ จ ะอ าศัยอ ยูใ่นด ินแ ละแ หลง่ น ํ้าท ีม่ คี วามเปน็ กร ด
เป็นเบสของดินแ ละนํ้าที่เหมาะสม จึงจ ะสามารถเจริญเติบโตและด ำ�รงช ีวิตอยู่ได้ ความเป็นกร ดเป็นเบสข อง
ดินแ ละน ํ้าจะขึ้นอ ยู่ก ับปริมาณข องแ ร่ธาตุท ี่ละลายปะปนอยู่
3. การถ ่ายทอดพ ลังงาน
การท ี่พ ืชห รือส ัตว์จ ะด ำ�รงช ีวิตอ ยู่ไดจ้ ำ�เป็นต ้องม ที ั้งพ ลังงานแ ละแ รธ่ าตุเข้าส ูร่ ่างกายอ ย่างส มํ่าเสมอ
และม กี ารเคลือ่ นทีข่ องพ ลังงานแ ละแ รธ่ าตอุ ย่างเป็นร ะบบ เช่น ตน้ ห ญ้าไดร้ บั พ ลงั งานจ ากแ สงอ าทิตยโ์ดยตรง
ขณะที่มนุษย์และสัตว์จะได้รับพลังงานและแร่ธาตุจากการกินอาหาร พลังงานและแร่ธาตุเหล่านี้ เมื่อเข้าสู่
สิ่งมีชีวิตแล้วจะถูกนำ�ไปใช้ส ร้างพ ลังงาน และมีบ างส่วนสูญเสียไปจ ากร่างกาย ในรูปข องความร ้อน ส่วนแร่
ธาตุบ างช นิดจ ะถ ูกข ับอ อกจ ากร ่างกายโดยก ารข ับถ ่าย ดังน ั้น การท ี่ส ิ่งม ีช ีวิตจ ะส ามารถด ำ�รงช ีวิตได้ พลังงาน
และแร่ธ าตุท ี่เข้าจ ะต ้องสมดุลก ับพ ลังงานและแ ร่ธ าตุท ี่อ อกไปจ ากร่างกาย ระบบก ารเคลื่อนที่ของพลังงานใน
สิ่งมีช ีวิตเกิดขึ้นเป็นขั้นต อนท ี่เรียกว ่า โซ่อาหาร สายใยอ าหาร และลำ�ดับช ั้นข องอ าหาร