Page 37 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 37

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-27

       3.2 	 ลำ�ดับ​ช้ัน​ของ​อาหาร การ​เคลื่อนที่​ของ​พลังงาน​ไป​ตาม​โซ่​อาหาร สามารถ​เขียน​เป็น​โครงสร้าง​
ของล​ ำ�ดับ​ชั้น​อาหาร (trophic level) ที่​เริ่มต​ ้น​จาก​ผู้ผ​ ลิต​และ​ต่อด​ ้วย​ผู้​บริโภคอ​ ันดับต​ ่างๆ ปกติ​จะ​ได้​เป็น​รูป​
สามเหลี่ยม เรียก​ว่า พีระมิด​นิเวศ เนื่องจากพ​ ลังงานท​ ี่ถ​ ูก​ถ่ายทอดไ​ป​แต่ละ​ขั้นต​ อนจ​ ะล​ ด​ลงเ​รื่อยๆ บาง​ครั้ง​
จึงเ​รียกว​ ่า พีระมิดข​ องพ​ ลังงาน ซึ่งพ​ ีระมิดข​ องพ​ ลังงานอ​ าจเ​ขียนข​ ึ้นจ​ ากจ​ ำ�นวนน​ ํ้าห​ นักห​ รือป​ ริมาณท​ ี่แท้จ​ ริง​
ของ​พลังงานท​ ี่ถ​ ูก​ถ่ายทอด​ไป อย่างไรก​ ็ตาม พีระมิด​ของจ​ ำ�นวน​หรือน​ ํ้าห​ นักจ​ ะศ​ ึกษาไ​ด้​สะดวก​กว่า เช่น ถ้า​
เราศ​ ึกษาล​ ำ�ดับช​ ั้นอ​ าหารใ​นน​ าข​ ้าวท​ ี่ข​ ้าวใ​นพ​ ื้นที่ 1 ไร่ เราน​ ับจ​ ำ�นวนต​ ้นข​ ้าวแ​ ละพ​ ืชอ​ ื่นๆ ทั้งหมดใ​นบ​ ริเวณน​ ั้น
แล้ว​นับจ​ ำ�นวน​สัตว์​กินพ​ ืชท​ ี่​อาศัย​อยู่​บริเวณน​ ั้น เช่น ตั๊กแตน หนอน หอย ปู ปลา แล้ว​นับ​จำ�นวนส​ ัตว์​ที่​กิน​
เนื้อที่พ​ บ เช่น งู และน​ ก​ต่างๆ เมื่อเ​รา​เอา​จำ�นวน​เหล่าน​ ี้​มาเ​ปรียบ​เทียบก​ ัน ถ้า​ทุ่งน​ า​อยู่​ในส​ ภาพ​ปกติ​ไม่มีก​ าร​
ระบาดข​ องโ​รคห​ รือต​ ั๊กแตน เราจ​ ะพ​ บว​ ่าพ​ ืชจ​ ะม​ มี​ ากท​ ี่สุด สัตว์ก​ ินพ​ ืชจ​ ะม​ มี​ ากเ​ป็นอ​ ันดับส​ อง และส​ ัตว์ก​ ินเ​นื้อ​
จะ​น้อยท​ ี่สุด ดังภ​ าพ​ที่ 3.16

	 ผลผลิต​สุทธิ	​     4. ผู้บ​ ริโภค​ตติยภ​ ูมิ
                      3. ผู้​บริโภคท​ ุติยภ​ ูมิ

                            2. ผู้​บริโภค​ปฐมภ​ ูมิ
                                         1. ผู้ผ​ ลิต

                  กระบวนการห​ ายใจข​ องเ​ซลล์

                  ผลผลิต​รวม

ภาพท​ ่ี 3.16 แสดงล​ �ำ ดับช​ น้ั อ​ าหาร

       จากภ​ าพท​ ี่ 3.16 จะเ​หน็ ว​ ่าเ​มื่อล​ ำ�ดับช​ ั้นข​ องอ​ าหารส​ ูงข​ ึ้นจ​ ากผ​ ูผ้​ ลติ ไ​ปย​ งั ผ​ ูบ้​ ริโภคอ​ นั ดับต​ ่างๆ จำ�นวน​
หรือน​ ํ้าห​ นักข​ องส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตจ​ ะล​ ดล​ ง เนื่องจากพ​ ลังงานจ​ ะเ​สียไ​ปท​ ุกข​ ั้นต​ อนท​ ี่ส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตถ​ ูกก​ ินโ​ดยส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตช​ นิด​
อื่น อย่างไร​ก็ตาม ขณะท​ ี่พ​ ลังงาน​เสียไ​ปแ​ ร่ธ​ าตุแ​ ละส​ ารต​ ่างๆ จะห​ มุนเวียนจ​ ากส​ ิ่ง​มีช​ ีวิตม​ าส​ ู่ส​ ิ่งแ​ วดล้อมแ​ ละ​
กลับ​สู่​สิ่ง​มีช​ ีวิต​อีก​ไป​เรื่อยๆ

4. 	วัฏจักร​ของส​ าร*

       4.1 	วฏั จกั รข​ องค​ ารบ์ อน  คารบ์ อนเ​ปน็ ธ​ าตท​ุ สี​่ �ำ คญั ธ​ าตห​ุ นึง่ ข​ องส​ ิง่ ม​ ช​ี วี ติ เปน็ อ​ งคป​์ ระกอบใ​นเ​นือ้ เยือ่ ​
ของ​สิ่ง​มีช​ ีวิต​ร้อยล​ ะ 50 การห​ มุนเวียน​ของ​คาร์บอน​มี 2 รูป​แบบ แบ่งต​ าม​ระยะ​เวลาท​ ี่ใ​ช้ใ​น​การ​หมุนเวียน​ให้​
ครบ​รอบ คือ การห​ มุนเวียน​ระยะส​ ั้น และ​การห​ มุนเวียน​ระยะย​ าว

	 *รวบรวมแ​ ละเ​รียบเ​รียงจ​ าก วิฑูรย์ ไวยน​ ันท์ (2528) “สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม” ใน เอกสารก​ ารส​ อนช​ ุดว​ ิชาว​ ิทยาศาสตร์ 4
หน่วยท​ ี่ 14 หน้า 467-468 นนทบุรี สาขาว​ ิชาศ​ ึกษาศ​ าสตร์ มหาวิทยาลัยส​ ุโขทัยธ​ ร​รมาธิ​ราช
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42