Page 39 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 39

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-29

ซึ่ง​อาจ​ได้​รับ​จาก​พวก​สาหร่าย​และ​จุลินทรีย์​ดัง​กล่าว​แล้ว อีก​ส่วน​หนึ่ง​ได้​จาก​แหล่ง​สะสม​ของ​แอมโมเนีย​ม​
ในด​ ิน​และ​ใน​นํ้า นอกจากน​ ั้น ​ไน​เตร​ตอาจเ​กิดข​ ึ้นจ​ ากก​ ารร​ วมต​ ัวข​ องแ​ ก๊สไ​นโตรเจนแ​ ละ​ออกซิเจน​ในอ​ ากาศ​
จาก​พลังงาน​ซึ่ง​เกิด​จาก​ฟ้าแลบ สัตว์​หรือ​พืช​ที่​ตาย​ลง​และ​สิ่ง​ขับ​ถ่าย​ของ​สัตว์​และ​จุลินทรีย์​ต่างๆ ย่อย​สลาย​
เไกนิด​เต​เปรต็นซ​​แึ่งอพ​มืชโม​สาเนมียารถ(Nน​ Hำ�​ม3)า​ใแชล้ไดะ​ไ้ นไตรต์ (NO2—) จาก​นั้นจะ​มี​จุลินทรีย์​อีก​ชนิด​หนึ่งเปลี่ยน​ไน​ไตร​ต์​ให้​เป็น​

       ไนโตรเจนถ​ ูก​ส่ง​กลับ​สู่​สิ่ง​แวดล้อมโ​ดย​จุลินทรีย์อ​ ีก​ชนิดห​ นึ่ง ซึ่ง​เปลี่ยน​สารประกอบไ​นโตรเจนใ​ห้​
เป็นแ​ ก๊สไ​นโตรเจนแ​ ละ​กลับ​สู่​อากาศ การ​หมุนเวียนข​ องไ​นโตรเจนเ​พิ่มส​ ูงข​ ึ้น​ใน​ปัจจุบัน​จากอ​ ุตสาหกรรมท​ ำ�​
ปุ๋ย​แอมโมเนียม​ เพื่อ​ใช้​ใน​การเกษตรก​ รรม​ต่างๆ (ภาพท​ ี่ 3.18)

                                                   ไนโตรเจนใ​ น​อากาศ

ฟ้าแลบ

                                                    การส​ ร้าง​        สาหร่ายส​ ี​เขียว​แกมน​ ํ้าเงิน
                                                   กรด​อะม​ ิโ​น

                                                                       มห​ไ​ หาสลม​ลงุท​ร

อ​ ุตสาหกรรม​ผลิตป​ ุ๋ยเ​คมี​จุลินทรีย์ใ​นน​ ํ้า​                   ผู้ย​ ่อย​สลาย​        จุลินทรีย์​ในด​ ิน
                      และ​ในด​ ิน                                ​ก​รด​อะ​มิโ​น

                                                                 ​แอมโมเนีย​
                                                   NO3— และ NH4+ ใน​ดิน​และ​นํ้า

        ภาพ​ที่ 3.18 แสดง​วฏั จักร​ของไ​ นโตรเจน

       4.3 	 วฏั จกั รข​ องฟ​ อสฟอรสั  ฟอสฟอรัสส​ ะสมอ​ ยูใ่​นส​ ิ่งแ​ วดล้อมใ​นร​ ูปข​ องห​ ินฟ​ อสเฟต เมื่อห​ ินถ​ ูกน​ ํ้า​
ชะเ​กิดก​ ารส​ ึกก​ ร่อน สารประกอบฟ​ อสเฟต (PO43—) ก็จ​ ะถ​ ูกน​ ํ้าพ​ ัดพ​ าไ​ปใ​นท​ ี่ต​ ่างๆ และพ​ ืชน​ ำ�​มาใ​ช้ได้โ​ดยตรง
ในท​ ำ�นอง​เดียวกัน ฟอสฟอรัส​ใน​สิ่ง​ขับ​ถ่ายห​ รือซ​ าก​พืชแ​ ละ​สัตว์​ที่ถ​ ูกย​ ่อยส​ ลาย​โดย​จุลินทรีย์ ก็จ​ ะ​ออกม​ า​ใน​
รูป​ของ​ฟอสเฟต ซึ่ง​พืช​สามารถ​นำ�​มา​ใช้ได้​ทันที ดัง​นั้น​วัฏจักร​ของ​ฟอสฟอรัส​จึง​ไม่​ค่อย​ซับ​ซ้อน​มาก​นัก แต่​
ฟอสฟอรัส​ส่วน​ใหญ่​จะ​มี​การ​เคลื่อนที่​เป็น​ลักษณะ​ไป​ทาง​เดียว จาก​หิน​สู่​มหาสมุทร​และ​ตก​ตะกอน​อยู่​ใต้​นํ้า
ฟอสฟอรัส​จะ​ถูก​นำ�​กลับ​มา​สู่​สิ่ง​มี​ชีวิต​บน​บก​ได้​โดย​การ​ที่​เรา​นำ�​สัตว์​นํ้า​ขึ้น​มา​เป็น​อาหาร และ​จาก​สิ่ง​ขับ​ถ่าย​
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44