Page 42 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 42
3-32 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เรอื่ งที่ 3.1.4 การปรับตวั แ ละก ารเปลี่ยนแปลงแทนที่ของ
กล่มุ ส่งิ ม ชี วี ติ ในส ่งิ แ วดลอ้ ม
1. การปรับตวั ของส ่งิ มชี ีวิต
สิ่งมีชีวิตต่างๆ ที่อาศัยในแต่ละแหล่งที่อยู่จะมีการเปลี่ยนแปลงหรือการปรับลักษณะของตนเพื่อ
ให้เหมาะสมท ี่จะอ ยู่ร อดและแ พร่พ ันธุ์ได้ในส ภาพแ วดล ้อม นั้นๆ สิ่งมีช ีวิตอ าจม ีก ารป รับตัวได้ใน 3 ลักษณะ
(ภาพที่ 3.21) ดังนี้
1.1 การปรับตัวทางรูปร่างลักษณะหรือทางสัณฐาน (morphological adaptation) เป็นการปรับ
ลักษณะ รูปร่าง สีสัน โครงสร้างของร่างกายภายนอกข องสิ่งม ีช ีวิต เพื่อก ารพรางต ัวให้ร อดพ้นจากการถ ูกล่า
หรือเพื่อให้มีการด ำ�รงชีวิตท ี่ด ีขึ้น เช่น ตั๊กแตนใบไม้ท ี่ม ีสีและร ูปร่างของล ำ�ตัวเหมือนใบไม้ (ภาพที่ 3.21 ก.)
ต้นโกงกางท ี่อ ยู่ต ามป ่าช ายเลนม ีร ากค ํ้าจุนช ่วยให้ล ำ�ต้นส ามารถต ั้งต รงอ ยู่ได้ในด ินเลน ผักก ระเฉดม ีท ุ่นช ่วย
ในการล อยตัว
1.2 การป รบั ต วั ท างส รรี วทิ ยา (physiological adaptation) เป็นการป รับห น้าทีก่ ารท ำ�งานข องอ วัยวะ
ภายในร ่างกายให้เหมาะส ม เช่น นกท ะเลมีต ่อมขับเกลือ (nasal gland) สำ�หรับข ับเกลือส ่วนเกินออกนอก
ร่างกาย สัตวเ์ลือดอ ุ่นม ตี ่อมเหงื่อส ำ�หรับข ับเหงื่อร ะบายค วามร ้อน หรือพ ันธุไ์มท้ ีป่ ่าช ายเลนจ ะม ตี ่อมข ับเกลือ
ซึ่งจะพบอยู่ทั่วไปในส่วนของใบ เช่น ใบเล็บมือนาง ไม้แ สม ไม้ลำ�พู-ลำ�แพน และเหงือกปลาหมอ เป็นต้น
1.3 การปรับตัวทางพฤติกรรม (behavior adaptation) เป็นการปรับการดำ�รงชีวิต อุปนิสัย หรือ
กิจกรรมในการดำ�เนินชีวิตให้เหมาะสมกับฤดูกาล ชนิดของอาหารหรือเพื่อให้ปลอดภัยจากอันตรายต่างๆ
เช่น การพ ันหลักข องตำ�ลึง (ภาพที่ 3.21 ข.) หรือการออกห ากินก ลางค ืน การจำ�ศีลของส ัตว์ เพื่อหลบเลี่ยง
สิ่งแวดล้อมท ี่ไม่เหมาะสม
ก.
ข.
ภาพท่ี 3.21 แสดงก ารป รับต วั แบบตา่ งๆของส่ิงม ชี วี ติ
ก. ต๊กั แตนใบไม้ ข. ตำ�ลงึ