Page 40 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 40
3-30 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ของน กทะเลต่างๆ (ภาพท ี่ 3.19) ฟอสเฟตเป็นส ่วนป ระกอบที่สำ�คัญข องปุ๋ย แต่หินฟ อสเฟตบนพื้นดินท ี่จ ะ
ขุดเอาม าใช้ได้กำ�ลังล ดน ้อยล งทุกทีเนื่องจากการนำ�มาใช้ในอ ุตสาหกรรมท ำ�ปุ๋ยเคมี
สารอินทรีย์จากพืชและสัตว์
ฟอสฟอรัสในห ิน
ซากพ ืชแ ละส ัตว์ ฟอสฟอรัสใ นรูปของสารละลาย
ถูกย่อยส ลายโดยจุลินทรีย์ ตะกอน
ฟอสฟอรัสในร ูปของ หิน
ส ารละลายไหลลงส ู่น ํ้า
ภาพที่ 3.19 แสดงวฏั จกั รของฟ อสฟอรสั
4.4 วัฏจักรของกำ�มะถัน กำ�มะถันหรือซัลเฟอร์ (S) เป็นสารซึ่งประกอบอยู่ในโมเลกุลของโปรตีน
ดังน ั้น จึงเป็นส ารท ี่จำ�เป็นต ่อชีวิต แต่สิ่งม ีช ีวิตมีค วามต ้องการน ้อยกว่าไนโตรเจน แหล่งสะสมของกำ�มะถัน
อยู่ในรูปของต ะกอนห รือหินใต้ดินซ ึ่งเกิดจ ากก ารรวมต ัวข องเหล็ก และกำ�มะถัน เป็นเหล็กซ ัลไฟด์ (FeS) ซึ่ง
เมื่อถูกนํ้าเซาะก็จะละลายกำ�มะถันออกมารวมกับออกซิเจนเกิดเป็น ซัลเฟต (SO42—) ที่พืชสามารถดูดซึม
ไปใช้ได้ เมื่อพืชหรือสัตว์ตายจ ุลินทรีย์บางชนิดจะเปลี่ยนกำ�มะถันเป็นแ ก๊สไฮโดรเจนซ ัลไฟด์ (H2S) และจ ะ
ถูกเปลี่ยนต ่อไปเป็นซ ัลเฟต ให้พืชสามารถน ำ�กลับม าใช้ได้อ ีก
แหล่งสะสมของกำ�มะถันอีกแหล่งหนึ่งคือ เชื้อเพลิงจากใต้ดินในรูปของแก๊ส นํ้ามัน และถ่านหิน
ซึ่งเมื่อถูกนำ�มาใช้ในอุตสาหกรรมหรือการขนส่ง ก็จะปล่อยกำ�มะถันออกไปในอากาศในรูปของซัลเฟอร์ได-
ออกไซด์ (SO2) เมื่อถูกฝนชะหรือตกลงไปในแหล่งนํ้าต่างๆ ก็จะทำ�ปฏิกิริยากับนํ้าเกิดเป็นกรดซัลฟิวริก
(H2SO4) หรือฝ นก รด ที่ท ำ�ความเสียหายแก่พ ืชและอ าคารบ้านเรือน การร ะเบิดของภ ูเขาไฟ ก็ท ำ�ให้เกิดแ ก๊ส
ซัลเฟอร์ไดอ อกไซด์ซ ึ่งจะถ ูกปล่อยออกม าในบรรยากาศปริมาณม ากเช่นก ัน (ภาพท ี่ 3.20)