Page 43 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 43

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-33

2. 	การ​เปล่ียนแปลง​แทนทข​่ี อง​กลมุ่ ส​ ่งิ ​มชี​ ีวิต

       ในส​ ภาพธ​ รรมชาตริ​ ะบบน​ ิเวศม​ กี​ ารเ​ปลี่ยนแปลงต​ ลอดเ​วลา การเ​ปลี่ยนแปลงบ​ างอ​ ย่างใ​นธ​ รรมชาต​ิ
เป็นไ​ปอ​ ย่างช​ ้าๆ เช่น แม่นํ้าล​ ำ�คลองต​ ื้นเ​ขิน เพราะต​ ะกอนด​ ินถ​ ูกพ​ ัดพ​ าม​ าจ​ ากท​ ีอ่​ ื่น การเ​ปลี่ยนแปลงบ​ างอ​ ย่าง​
รวดเร็ว เช่น ไฟป​ ่า พายุ นํ้าท​ ่วม ดินถ​ ล่ม การเ​ปลี่ยนแปลงอ​ าจส​ ่งผ​ ลต​ ่อข​ นาดข​ องป​ ระชากรห​ รืออ​ งค์ป​ ระกอบ​
ทางช​ ีวภาพใ​หเ้​ปลี่ยนไ​ป อาจจ​ ะส​ ่งผ​ ลใ​หส้​ ิ่งม​ ชี​ ีวิตบ​ างช​ นิดเ​จริญร​ วดเร็ว ในข​ ณะท​ ีบ่​ างช​ นิดอ​ าจด​ ำ�รงช​ ีวิตอ​ ยูไ่​ม​่
ได้ ลกั ษณะส​ �ำ คญั ข​ องก​ ารเ​ปลีย่ นแปลงใ​นส​ ภาพธ​ รรมชาติ คอื จะเ​กดิ ก​ ารเ​ปลีย่ นแปลงอ​ ยา่ งช​ า้ ๆ เรยี กแ​ ตล่ ะข​ ัน้ ​
ของก​ ารเ​ปลี่ยนแปลงว​ ่า เซียร์ (xere) การเ​ปลี่ยนแปลงน​ ั้นเ​กิดข​ ึ้นอ​ ย่างม​ รี​ ะเบียบต​ ามล​ ำ�ดับก​ ่อนห​ ลัง มที​ ิศทาง​
แน่นอน สามารถท​ ำ�นายไ​ด้ว​ ่าก​ ลุ่มส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตน​ ั้นจ​ ะเ​ปลี่ยนแปลงอ​ ย่างไรต​ ่อไ​ป สาเหตุข​ องก​ ารเ​ปลี่ยนแปลงเ​กิด​
จาก​สิ่ง​มีช​ ีวิตท​ ี่​อยู่​เดิม ทำ�ให้​สิ่ง​แวดล้อมเ​ปลี่ยนแปลงไ​ป​จนต​ ัวเ​อง​ไม่ส​ ามารถอ​ ยู่​ได้ และ​สิ่ง​มี​ชีวิต​อื่นท​ ี่เ​หมาะ​
สม​กว่า​เข้า​มา​อยู่แ​ ทน การ​เปลี่ยนแปลง​นี้จ​ ะเ​กิด​ต่อ​เนื่อง​เรื่อยๆ จน​กระทั่ง​ระบบ​นิเวศ​ค่อน​ข้าง​คงที่ห​ รือ​อยู่​ใน
“สภาวะส​ มดุล” การ​เปลี่ยนแปลงแ​ ทนที่ใ​นส​ ภาพแ​ วดล้อมธ​ รรมชาติ มี 2 ลักษณะ คือ

       2.1 	 การ​เปล่ยี นแปลงแ​ ทนท​แ่ี บบ​ปฐมภ​ มู ิ (primary succession) เป็นการ​เปลี่ยนแปลงแ​ ทนที่​ที่​เริ่ม​
จาก​บริเวณ​ที่​ปราศจาก​สิ่ง​มี​ชีวิต​มา​ก่อน แล้ว​สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​สามารถ​หา​อาหาร​ได้​เอง​เข้า​มา​อยู่ เรียก​ขั้น​นี้​ว่า ขั้น​
ไพโ​อเ​นียร์ เช่น การเ​ปลี่ยนแปลงแ​ ทนที่ท​ ี่เ​กิดบ​ น​ก้อน​หิน หรือ หน้าด​ ินท​ ี่​เปิด​ขึ้น​ใหม่ สิ่ง​มี​ชีวิต​พวก ไลเ​คน​ส์
มอส ลิเ​วอร์เ​วิร์ต เจริญข​ ึ้นเ​ป็นกล​ ุ่มแ​ รก สิ่งม​ ีช​ ีวิตพ​ วกแ​ รกต​ ายท​ ับถมเ​ป็นช​ ั้นด​ ินบ​ างๆ สิ่งม​ ีช​ ีวิตก​ ลุ่มท​ ี่ 2 พวก
หญ้า วัชพืชเ​กิดข​ ึ้นม​ าแ​ ละต​ ายท​ ับถมเ​ป็นช​ ั้นด​ ินท​ ี่ห​ นาข​ ึ้นค​ วามอ​ ุดมส​ มบูรณข์​ องด​ ินท​ ำ�ใหเ้​กิดไ​มล้​ ้มลุก ไม้พ​ ุ่ม
และ​ป่า​ไม้ ใน​ที่สุด กลาย​เป็นส​ ังคม​สมบูรณ์ และม​ ีค​ วาม​สมดุล (ภาพ​ที่ 3.22) การเ​ปลี่ยนแปลง​แบบ​นี้ใ​ช้​เวลา​
นาน​มาก อย่าง​น้อยห​ลาย​สิบ​ปี การ​เปลี่ยนแปลง​แทนที่​แบบ​ปฐม​ภูมิ​อาจ​เกิด​จาก​การ​เปลี่ยน​สภาพ​แวดล้อม​
หนึ่ง​ไปเ​ป็น​อีกส​ ภาพแ​ วดล้อมห​ นึ่ง เช่น การเ​ปลี่ยนแปลงแ​ ทนที่แ​ บบ​ปฐม​ภูมิใ​นส​ ระ​นํ้า​จน​กลาย​เป็นพ​ ื้น​ดิน

                                                  ป่าไ​ ม้

                                     ไม้​ล้มลุก
           ไล​เคน​ส์ มอส หญ้า วัชพืช

                                                 เวลา

                       ภาพ​ท่ี 3.22 การ​เปลยี่ นแปลง​ของ​ระบบ​นเิ วศ​ขนั้ ​ปฐม​ภมู ิ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48