Page 48 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 48

3-38 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

เรือ่ ง​ที่ 3.2.1 	ความห​ มายแ​ ละค​ วามส​ ำ�คญั ​ของ​
	 ความห​ ลากห​ ลายทาง​ชีวภาพ*

1. 	ความห​ มายข​ องค​ วามห​ ลากห​ ลาย​ทาง​ชีวภาพ

       ความห​ ลากห​ ลายท​ างช​ วี ภาพ (biodiversity หรอื biological diversity) มาจ​ ากค​ �ำ  2 ค�ำ  คอื biologi-
cal หมายถ​ ึง ชีวภาพ และ diversity หมายถ​ ึง ความห​ ลากห​ ลาย รวมก​ ันแ​ ล้วห​ มายถ​ ึง การม​ ีส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตม​ ากมาย​
และแ​ ตกต​ า่ งก​ นั ใ​นร​ ะบบน​ เิ วศ ความห​ ลากห​ ลายท​ างช​ วี ภาพใ​ชเ​้ วลาว​ วิ ฒั นาการน​ านน​ บั ห​ ลายร​ อ้ ยล​ า้ นป​ ี ส�ำ หรบั ​
ระดับค​ วามห​ ลาก​หลาย​ทาง​ชีวภาพ นัก​ชีววิทยาไ​ด้​กล่าวถ​ ึง​ความ​หลากห​ ลาย​ทางช​ ีวภาพ​ใน 3 ระดับ ดังนี้

       1.1 	 ความห​ ลากห​ ลายท​ างพ​ นั ธกุ รรม (genetic diversity) หมายถ​ งึ ความห​ ลากห​ ลายข​ องย​ นี (genes)
ทสี​่ ิง่ ม​ ช​ี วี ติ แ​ ตล่ ะช​ นดิ ไ​ดร​้ บั ก​ ารถ​ า่ ยทอดม​ าจ​ ากร​ ุน่ พ​ อ่ แ​ มแ​่ ละส​ ง่ ต​ อ่ ไ​ปย​ งั ร​ ุน่ ต​ อ่ ๆ ไป ซึง่ แ​ สดงออกด​ ว้ ยล​ กั ษณะ​
ทางพ​ ันธุกรรมต​ ่างๆ ที่ป​ รากฏใ​ห้เ​ห็นโ​ดยท​ ั่วไปท​ ั้งภ​ ายในส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตช​ นิดเ​ดียวกันแ​ ละร​ ะหว่างส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตต​ ่างช​ นิด​
กัน สิ่ง​มี​ชีวิตช​ นิดเ​ดียวกัน​อาจม​ ีย​ ีน​แตกต​ ่างก​ ันไ​ปต​ าม​สายพ​ ันธุ์ เช่น ลักษณะ​ความห​ ลากห​ ลายข​ อง​ลวดลาย​
และ​สี​ของ​หอย ตัวอย่าง​ของ​ความ​หลาก​หลาย​ทาง​พันธุกรรม​ใน​มนุษย์ คือ พี่​น้อง​ที่​มี​สี​ผม สี​ผิว และ​สี​ของ​
นัยน์ตา​ที่​แตก​ต่าง​กัน เป็นต้น ความ​แตก​ต่าง​ผันแปร​ทาง​พันธุกรรม​ใน​แต่ละ​หน่วย​ชีวิต​นั้น​มี​สาเหตุ​มา​จาก​
การ​เปลี่ยนแปลง​ทาง​พันธุกรรม (mutation) ซึ่ง​อาจ​เกิด​ขึ้น​ใน​ระดับ​ยีน หรือ​ใน​ระดับ​โครโมโซม ซึ่ง​จะ​ถูก​
ถ่ายทอด​ไป​สู่​ลูก​หลาน​ต่อๆ ไป​ใน​ประชากร การ​เปลี่ยนแปลง​ทาง​พันธุกรรม​มี​ความ​สำ�คัญ​ต่อ​ความ​อยู่​รอด​
ของ​ชนิดพ​ ันธุ์

       นัก​ชีววิทยา​ใช้​ระดับ​ความ​แตก​ต่าง​ของ​ยีน​ใน​การ​กำ�หนด​ความ​ใกล้​ชิด หรือ​ความ​ห่าง​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​
ใน​สาย​วิวัฒนาการ สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​สืบทอด​มา​จาก​ต้น​ตระกูล​เดียวกัน ย่อม​มี​ความ​คล้ายคลึง​กัน​ทาง​พันธุกรรม​
มากกวา่ ส​ ิง่ ม​ ช​ี วี ติ ท​ ไี​่ มใ่ ชญ​่ าตก​ิ นั ยิง่ ห​ า่ งก​ ย​็ ิง่ ต​ า่ งก​ นั ม​ ากย​ ิง่ ข​ ึน้ จนก​ ลายเ​ปน็ ส​ ิง่ ม​ ช​ี วี ติ ต​ า่ งช​ นดิ ต​ า่ งก​ ลุม่ ห​ รอื ต​ า่ ง​
อาณาจักรก​ ันต​ ามล​ ำ�ดับ นักช​ ีววิทยา​มเี​ทคนิคก​ ารว​ ัดค​ วามห​ ลากห​ ลายท​ างพ​ ันธุกรรมห​ ลายว​ ิธี แต่ท​ ุกว​ ิธอี​ าศัย​
ความ​แตก​ต่าง​ของ​องค์​ประกอบ​ทาง​พันธุกรรม​เป็น​ดัชนี​ใน​การ​วัด หาก​สิ่ง​มี​ชีวิต​ชนิด​ใด​มี​องค์​ประกอบ​ทาง​
พันธุกรรม​เป็น​แบบ​เดียวกัน​ทั้งหมด ย่อม​แสดง​ว่าส​ ิ่ง​มี​ชีวิต​ชนิดน​ ั้น​ไม่มีค​ วามห​ ลาก​หลาย​ทาง​พันธุกรรม

       1.2 	 ความ​หลาก​หลาย​ของ​ชนิด​หรือ​ชนิด​พันธุ์​ของ​ส่ิง​มี​ชีวิต (species diversity) หมาย​ถึง ความ​
หลาก​หลาย​ของ​ชนิด​หรือ​สปีชี​ส์ (species) ที่​มี​อยู่​ใน​พื้นที่​หนึ่ง​ซึ่​ง​ใน​โลก​มี​สิ่ง​มี​ชีวิต​มากมาย​หลาย​ชนิด​
พันธุ์ ทั้ง​พืช สัตว์ และ​จุลินทรีย์ โดย​แต่ละ​ชนิด​พันธุ์​จะ​เป็นก​ลุ่ม​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​มี​ลักษณะ​เฉพาะ​และ​มี​
องคป​์ ระกอบท​ างพ​ นั ธกุ รรมใ​กลเ​้ คยี งก​ นั ชนดิ พ​ นั ธขุ​์ องส​ ิง่ ม​ ช​ี วี ติ ท​ เี​่ กีย่ วขอ้ งก​ บั ค​ วามห​ ลากห​ ลายท​ างช​ วี ภาพ คอื
ชนิดพ​ ันธุ์​หลัก (keystone species) ชนิด​พันธุ์เ​ฉพาะ​ถิ่น (endemic species) และช​ นิด​พันธุ์ต​ ่าง​ถิ่น (alien

	 *รวบรวม​และ​เรียบ​เรียง​จาก สม​ศักดิ์ สุข​วงศ์ (2538) “นิเวศวิทยาของพืช” ใน ประมวล​สาระ​ชุด​วิชา​พฤกษศาสตร์​ขั้น​สูง​
สำ�หรับค​ รู หน่วยท​ ี่ 13 หน้า 166-168 นนทบุรี สาขา​วิชา​ศึกษาศ​ าสตร์ มหาวิทยาลัยส​ ุโขทัยธ​ รร​ มาธิร​ าช
   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53