Page 49 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 49
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-39
species) โดยช นดิ พนั ธ์หุ ลัก เป็นชนิดพันธุ์ที่ม ีบ ทบาทสำ�คัญยิ่งในระบบนิเวศที่อ าศัยอยู่ เนื่องจากมีผ ลต่อ
ความอุดมสมบูรณ์และความสมดุลของระบบนิเวศและมีผลต่อชนิดพันธุ์อื่น ชนิดพ นั ธ์ุเฉพาะถิ่น เป็นชนิด
พันธุ์ที่พบในพื้นที่หนึ่งโดยเฉพาะ แสดงถึง การมีอยู่ในถิ่นที่อยู่อาศัยพิเศษเฉพาะในพื้นที่ที่มีขอบเขตทาง
ภูมิศาสตร์จำ�กัด ส่วนชนิดพนั ธต์ุ ่างถ่นิ คือ สิ่งมีชีวิตจากถิ่นอื่นที่ถูกนำ�เข้ามาในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง ซึ่งพื้นที่
ดังกล่าวไม่เคยมีสิ่งมีชีวิตชนิดนั้นมาก่อน ซึ่งชนิดพันธุ์ต่างถิ่นเป็นประเด็นปัญหาที่คุกคามต่อความ
ห ลากห ลายทางชีวภาพท ี่สำ�คัญในอ ันดับแ รกๆ ของโลก
ความหลากหลายของชนิดพันธุ์ สามารถว ัดได้จากจำ�นวนชนิดของสิ่งมีชีวิต และจำ�นวนประชากร
ของส ิ่งม ีชีวิตแต่ละชนิด รวมทั้งโครงสร้างอายุแ ละเพศของป ระชากรด ้วย ความหลากห ลายข องชนิดมีค วาม
หมายอ ยู่ 2 ด้าน คือ ความม ากข องช นิด และค วามส มํ่าเสมอข องช นิด ความม ากข องช นิด คือ จำ�นวนช นิดข อง
สิ่งม ีชีวิตต ่อห น่วยพื้นที่ ความมากของช นิดสิ่งม ีชีวิตน ั้นแตกต ่างกันไปต ามพ ื้นที่ ในเมืองหนาว เช่น ไซบีเรีย
หรือแ คนาดา ในเนื้อที่ 1 เฮกเตอร์ (100 × 100 ตารางเมตร) มีต้นไม้เพียง 1-5 ชนิดเท่านั้น ส่วนในป่าเต็งร ัง
ของไทยม ีต้นไม้ 31 ชนิด ป่าดิบแ ล้งมี 54 ชนิด และในป ่าดิบชื้นมีมากกว่า 100 ชนิด บางแห่งม ีสูงถ ึง 200-
300 ชนิด ส่วนค วามส มํ่าเสมอข องชนิด หมายถ ึง สัดส่วนข องส ิ่งมีช ีวิตต ่างๆ ที่ม ีอ ยู่ในท ี่น ั้น ความส มํ่าเสมอ
ของชนิดส ิ่งมีช ีวิตน ั้น เช่น ป่า 2 แห่ง แต่ละแห่งมีต ้นไม้จ ำ�นวน 100 ต้น และมีอยู่ 10 ชนิดเท่าก ัน ในป่าแห่ง
แรกม ีต้นไม้ชนิดละ 9 ต้น เท่าก ันห มด ส่วนป่าแ ห่งที่ 2 มีต ้นไม้ช นิดห นึ่งม ากถ ึง 82 ต้น ที่เหลืออ ีก 9 ชนิด
มีอย่างละ 2 ต้น แสดงว่าในป่าแห่งแรกจะพบความหลากหลายของต้นไม้ได้มากกว่าป่าแห่งที่สอง ดังนั้น
ในพื้นที่หนึ่งๆ จะมีความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตมากที่สุดก็ต่อเมื่อมีจำ�นวนสิ่งมีชีวิตมากมายหลายชนิด
แต่ละชนิดม ีส ัดส่วนเท่าๆ กัน
1.3 ความหลากหลายของระบบนิเวศ (ecological diversity หรือ habitat diversity) คือ ความ
ซับซ้อนของลักษณะพื้นที่ที่แตกต่างกันในแต่ละภูมิภาคของโลก เมื่อประกอบกับสภาพภูมิอากาศ ลักษณะ
ภูมิประเทศทำ�ให้เกิดระบบนิเวศหรือถิ่นที่อยู่อาศัยของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกัน ระบบนิเวศแต่ละระบบเป็น
แหล่งของถิ่นที่อยู่อาศัย (habitat) ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ซึ่งมีปัจจัยทางกายภาพและชีวภาพที่เหมาะสม
กับสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดในระบบนิเวศนั้น การที่สามารถพบสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ในแต่ละพื้นที่ได้โดยผ่านการ
คัดเลือกต ามธ รรมชาติต ามก ระบวนการว ิวัฒนาการข องส ิ่งม ชี ีวิต สิ่งม ชี ีวิตบ างช นิดม วี ิวัฒนาการม าในท ิศทาง
ที่สามารถปรับตัวให้อยู่ได้ในระบบนิเวศที่หลากหลาย แต่บางชนิดก็อยู่ได้เพียงระบบนิเวศที่มีภาวะเฉพาะ
เจาะจงเท่านั้น ความห ลากหลายของระบบนิเวศขึ้นอยู่กับชนิดและจำ�นวนประชากรข องสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่
ในระบบนิเวศนั้นๆ สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดผ่านกระบวนการวิวัฒนาการในอดีตและมีขีดจำ�กัดที่จะดำ�รงอยู่ใน
ภาวะความแปรปรวนของสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในประชากรของ
มันเองส ่วนห นึ่งแ ละข ึ้นอ ยูก่ ับค วามร ุนแรงข องค วามแ ปรปรวนข องส ิ่งแ วดล้อมอ ีกส ่วนห นึ่ง หากไม่มที ั้งค วาม
หลากห ลายทางพ ันธุกรรมและค วามห ลากหลายข องระบบนิเวศ สิ่งมีชีวิตก ลุ่มนั้นย่อมไร้ท างเลือกและหมด
หนทางท ี่จ ะอ ยู่รอดเพื่อส ืบทอดลูกห ลานต่อไป ความห ลากหลายของร ะบบนิเวศมี 3 ประเภท ดังนี้
1.3.1 ความหลากห ลายข องถ นิ่ ก�ำ เนดิ ต ามธ รรมชาติ (habitat diversity) ในแต่ละบ ริเวณท ี่อยู่
อาศยั ข องส ิง่ ม ชี ีวติ ท ีแ่ ตกต ่างก นั ไป บรเิ วณใดท ีม่ คี วามห ลากห ลายข องแ หลง่ ท ีอ่ ยูอ่ าศัย ทีน่ ัน่ จ ะม ชี นิดข องส ิง่