Page 50 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 50

3-40 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

มีช​ ีวิตท​ ี่​หลาก​หลายด​ ้วยเ​ช่น​กัน ตัวอย่างเ​ช่น ในผ​ ืน​ที่​ป่า​ทาง​ตะวันต​ กข​ อง​ไทย​ที่ม​ ี​ลำ�นํ้า​ใหญ่​ไหล​ผ่าน จะ​พบ​
ถิ่นก​ ำ�เนิด​ตาม​ธรรมชาติ​มากมาย คือ ตัวล​ ำ�นํ้า หาดท​ ราย ห้วย​เล็กห​ รือห​ ้วย​น้อยอ​ ัน​เป็น​ลำ�นํ้า​สาขา พรุซ​ ึ่งม​ ี​
นํ้าข​ ัง ฝั่ง​นํ้า หน้าผา ถํ้า ป่าบ​ น​ที่​ดอนก​ ็​มี​หลายป​ ระเภท แต่ละ​ถิ่น​กำ�เนิด​ก็​มีส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตอ​ าศัยอ​ ยู่แ​ ตกต​ ่าง​กัน​ไป
เช่น ลำ�นํ้าพ​ บค​ วายป​ ่า หน้าผา​มีเ​ลียงผา ถํ้า​มีค​ ้างคาว เป็นต้น ความ​หลากห​ ลาย​ของถ​ ิ่นก​ ำ�เนิด​อาจ​จะล​ ด​น้อย​
ลง หากม​ ี​การส​ ร้างเ​ขื่อน พื้นที่ส​ ่วนใ​หญ่ก​ ลายเ​ป็นท​ ะลส​ าบข​ นาดใ​หญ่ ความห​ ลากห​ ลายข​ องส​ ิ่ง​มี​ชีวิตท​ ี่อ​ าศัย​
บริเวณน​ ั้นก​ ็​เปลี่ยนไ​ป​ลด​น้อยล​ ง ดังน​ ั้น โดย​ทั่วไป​แล้วท​ ี่​ใดท​ ี่​มีถ​ ิ่น​กำ�เนิด​ตาม​ธรรมชาติ​หลากห​ ลาย ที่น​ ั้น​จะ​
มีส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตห​ ลากห​ ลายไ​ปด​ ้วย ซึ่ง​บางช​ นิดส​ ามารถ​อยู่อ​ าศัยใ​นถ​ ิ่นก​ ำ�เนิดไ​ด้ห​ ลายร​ ูปแ​ บบ เช่น กระทิง วัวแดง
บางค​ รั้งห​ ากินใ​นท​ ุ่งห​ ญ้า บางค​ รั้งห​ ากินใ​นป​ ่าโ​ปร่ง บางค​ รั้งห​ ากินใ​นป​ ่าดิบ มกี​ ารโ​ยกย​ ้ายห​ ากินไ​ปต​ ามฤ​ ดูกาล
ใน​พื้น​ที่​หนึ่งๆ ถ้า​มี​ถิ่น​กำ�เนิด​ตาม​ธรรมชาติ​หลาย​ประเภท​อยู่​ใกล้​กัน จะ​ทำ�ให้​สิ่ง​มี​ชีวิต​มี​มาก​ชนิด​เพิ่ม​ขึ้น​
ด้วย

            1.3.2	 ความ​หลาก​หลาย​ของ​การ​ทดแทน (successional diversity) เมื่อ​สิ่ง​มี​ชีวิต​เริ่ม​พัฒนา​
ขึ้น​ใน​พื้นที่​ที่​ไม่​เคย​มี​สิ่ง​มี​ชีวิต​ขึ้น​มา​ก่อน​และ​พัฒนา​ขึ้น​เป็น​ชุมชน​สิ่ง​มี​ชีวิต​สมบูรณ์ (climax stage) เมื่อ​
เกิด​การร​ บกวน​หรือ​การ​ทำ�ลาย​ระบบ​นิเวศ​ลงไ​ปจ​ ะ​โดยว​ ิธีก​ ารใ​ดก​ ็ตาม เช่น ถูก​แผ้ว​ทาง พายุ​พัด เกิดไ​ฟป​ ่า
เกิด​เป็น​ที่​โล่ง ก็​จะ​ทำ�ให้​ระบบ​นิเวศ​เกิด​การ​เสีย​หาย​หรือ​ถูก​ทำ�ลาย แต่​ธรรมชาติ​จะ​มี​การ​ทดแทน​ทาง​นิเวศ
(ecological succession) ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ใหม่​ขึ้น​มา​แทนที่ ทั้งนี้​เนื่องจาก​ปัจจัย​ที่​เอื้อ​ต่อ​การ​ดำ�รง​ชีวิต เช่น
อาหาร นํ้า แสง ความชื้นแ​ ละ​อุณหภูมิ เปลี่ยนไ​ป การท​ ดแทน​สังคมท​ ี่เ​กิดข​ ึ้นม​ า​ใหม่​นี้ เรียก​ว่าการ​ทดแทน​
ลำ�ดับ​สอง (secondary succession) เช่น เมื่อ​ป่า​ถูก​ทำ�ลาย กลาย​เป็น​ที่​โล่ง​ต่อ​มา​ก็​จะ​มี​พืช​เบิก​นำ�  เช่น
หญ้า​คา สาบ​เสือ เกิด​ขึ้น​ใน​ที่​โล่ง​นี้ เมื่อ​กาล​เวลา​ผ่าน​ไป​ก็​มี​ต้นไม้​เนื้อ​อ่อน​โต​เร็ว​เกิด​ขึ้น เช่น กระ​ทุ่ม​นํ้า
ปอห​ ูช้าง หาก​ปล่อย​ไว้​โดยไ​ม่มีก​ าร​รบกวน ป่า​ดั้งเดิม​ก็จ​ ะ​กลับ​มาอ​ ีกค​ รั้ง สิ่งม​ ีช​ ีวิต​บาง​ชนิดป​ รับ​ตัว​ให้​เข้าก​ ับ​
ยุคต​ ้นๆ ของ​การท​ ดแทน บาง​ชนิดป​ รับต​ ัวเ​ข้าก​ ับย​ ุคส​ ุดท้าย กระบวนการ​ทดแทน​ก่อใ​หเ้​กิดค​ วามห​ ลากห​ ลาย​
ของ​สิ่งม​ ีช​ ีวิต

            1.3.2 	ความห​ ลากห​ ลายข​ องภ​ มู ปิ ระเทศ (landscape diversity) พื้นผ​ ิวโ​ลกจ​ ะป​ ระกอบด​ ้วยภ​ ูมิ-
ประเทศ​และ​ภูมิ​อากาศ​ที่​แตก​ต่าง​กัน ใน​ภูมิประเทศ​บาง​แห่ง​มี​ถิ่น​กำ�เนิด​ตาม​ธรรมชาติ​มากมาย มี​สังคม​พืช​
ใน​หลายๆ​ยุค​ของ​การ​ทดแทน​ตาม​ธรรมชาติ บริเวณ​นั้น​ก็​จะ​มี​สิ่ง​มี​ชีวิต​มากมาย จะ​แตก​ต่าง​จาก​ภูมิประเทศ​
ที่​มี​ถิ่น​กำ�เนิด​ตาม​ธรรมชาติ​น้อย เช่น ใน​เขต​หนาว​ที่​มี​ต้นไม้ เช่น สน เพียง​ชนิด​เดียว​ที่​สามารถ​ดำ�รง​ชีวิต​
อยู่​ได้​ใน​แถบ​นั้น ความ​หลาก​หลาย​ทาง​ชีวภาพ​ก็​มี​น้อย​ตาม​ไป​ด้วย หาก​แบ่ง​เขต​ภูมิประเทศ​ตาม​ลักษณะ
​ภูมิอ​ ากาศ​สามารถ​แบ่ง​ได้​เป็น 4 เขตใ​หญ่ๆ คือ

                 1) 	เขตร​ อ้ นช​ น้ื แ​ ถบศ​ นู ยส์ ตู รห​ รอื เ​ขตร​ อ้ น (tropical zone) เป็นเ​ขตท​ ี่ม​ ีค​ วามส​ ำ�คัญอ​ ย่าง​
ยิ่ง​ใน​เรื่อง​ความ​หลาก​หลาย​ทาง​ชีวภาพ เป็น​เขต​ที่​มี​ความชื้น​สูง เป็น​พื้นที่​ที่​มี​ความ​หลาก​หลาย​ของ​พันธุ์​พืช​
และพ​ ันธุ์​สัตว์​สูงม​ าก เช่นป​ ่าอ​ ะ​เม​ซอน ประเทศ​บราซิล

                 2) 	เขตอ​ บอ่นุ (temperate zone) เป็น​เขตท​ ี่ม​ ีฤ​ ดูกาล 4 ฤดู อย่างช​ ัดเจน เป็น​เขตท​ ี่​พบ​
ความ​หลากห​ ลาย​ทาง​ชีวภาพร​ อง​ลงม​ าจ​ ากเ​ขตร​ ้อนช​ ื้น​แถบ​ศูนย์สูตร
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55