Page 53 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 53

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-43

2. 	การล​ ดพ​ ืน้ ที่แ​ ละ​การ​แบง่ แ​ ยกพ​ ้ืนที่

       สิง่ ม​ ช​ี วี ติ ไ​มส​่ ามารถอ​ ยรู​่ อดส​ บื ทอดล​ กู ห​ ลานไ​ดถ​้ า้ ไ​มม่ ถ​ี ิน่ ท​ อี​่ ยอู​่ าศยั สิง่ ม​ ช​ี วี ติ จ​ �ำ นวนม​ ากต​ อ้ งการถ​ ิน่ ​
ที่อ​ ยู่อ​ าศัยต​ ามธ​ รรมชาติจ​ ึงจ​ ะส​ ืบทอดล​ ูกห​ ลานไ​ด้ คำ�​ว่า “ถิ่นท​ ี่อ​ ยู่อ​ าศัย” มิได้ห​ มายความ​เฉพาะพ​ ื้นที่เ​ท่านั้น
แตห่​ มายร​ วมถ​ ึงส​ ภาพแ​ วดล้อมท​ ีเ่​ป็นอ​ งคป์​ ระกอบท​ ั้งช​ ีวภาพแ​ ละก​ ายภาพด​ ้วย การล​ ดข​ นาดห​ รือแ​ บ่งแ​ ยกถ​ ิ่น​
กำ�เนิดต​ ามธ​ รรมชาติ มผี​ ลใ​หถ้​ ิ่นก​ ำ�เนิดเ​ป็นห​ ย่อมเ​ล็กห​ ย่อมน​ ้อย หรือก​ ารล​ ดค​ วามห​ ลากห​ ลายข​ องถ​ ิ่นก​ ำ�เนิด​
ตาม​ธรรมชาติ​โดย​การ​ทำ�ลาย เช่น การ​สร้าง​เขื่อน การ​สร้าง​อ่าง​เก็บ​นํ้า ที่​ทำ�ให้​เกิด​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​ถิ่น​
กำ�เนิด โดยป​ ่าท​ ี่อ​ ยู่ใ​ต้เ​ขื่อนถ​ ูกท​ ำ�ลาย นอกจากน​ ั้นเ​ขื่อนย​ ังแ​ บ่งแ​ ยกพ​ ื้นที่อ​ อกเ​ป็นอ​ อกเ​ป็นส​ ่วนๆ แม้ว่าเ​นื้อที​่
รวมก​ ันอ​ าจจ​ ะ​ไม่​ลด​ลง แต่​ก็​ทำ�ให้​สภาพ​ถิ่นท​ ี่​อยู่อ​ าศัยถ​ ูกต​ ัดขาดจ​ ากก​ ัน ประชากรใ​น​แต่ละ​ส่วน​จึงเ​ผชิญก​ ับ​
ภาวะ​เสี่ยงต​ ามท​ ี่​ได้​กล่าวม​ าแ​ ล้วเ​ช่นเ​ดียวกัน ซึ่ง​ถิ่นก​ ำ�เนิดต​ าม​ธรรมชาติ​ควรม​ ีข​ นาดใ​หญ่ใ​ห้​พอเ​พียงท​ ี่จ​ ะ​ให้​
ประชากร​ของส​ ิ่ง​มีช​ ีวิต​ดำ�รงเ​ผ่า​พันธุ์อ​ ยู่​ได้

3. 	การท​ �ำ ใหป​้ นเ​ปื้อน

       การนำ�​สารเ​คมี เช่น สารเคมีฆ่า​แมลง สารเคมีกำ�จัด​ศัตรูพ​ ืชม​ าใ​ช้ ทำ�ให้เ​กิดก​ ารป​ นเ​ปื้อนใ​นธ​ รรมชาติ
เกดิ เ​ป็นม​ ลพษิ ท​ างด​ า้ นส​ ิง่ แ​ วดลอ้ ม ซึง่ น​ อกจากจ​ ะท​ �ำ ลายส​ ิ่งม​ ช​ี วี ติ แ​ ตล่ ะช​ นิดแ​ ลว้ ยังท​ �ำ ใหเ้​กดิ ส​ ภาพแ​ วดลอ้ ม​
ที่เ​ปลี่ยนแปลง​ไป ทำ�ให้​เกิด​ผลกร​ ะท​ บ​ไป​ยัง​สิ่งม​ ีช​ ีวิตอ​ ื่น​ตาม​โซ่​อาหาร เช่น การ​ทำ�ให้​พืชค​ ลุม​ดิน​ถูก​ทำ�ลาย ม​ี
ผลท​ �ำ ใหเ​้ กดิ ก​ ารช​ ะลา้ งห​ นา้ ด​ นิ ท​ เี​่ พิม่ ข​ ึน้ จะส​ ง่ ผ​ ลต​ อ่ ส​ ิง่ ม​ ช​ี ว​ี ต​ิ อืน่ ๆ ในบ​ รเิ วณน​ ัน้ ต​ ามม​ าใ​นท​ ีส่ ดุ และก​ ารท​ �ำ ลาย​
พืช​ยัง​ส่ง​ผล​ต่อ​การ​ทำ�ลาย​แมลง​ที่​อาศัย​พืช​เหล่า​นั้น​อีก​ด้วย รวม​ทั้ง​การ​ปล่อย​สาร​เคมี ของ​เสีย​จาก​โรงงาน​
อุตสาหกรรม​สู่ธ​ รรมชาติ ก็ม​ ีผ​ ลต​ ่อ​สิ่ง​มีช​ ีวิต​บริเวณ​นั้น​และค​ วาม​หลาก​หลายท​ างช​ ีวภาพ​อีก​ด้วย

4. 	การน�ำ ช​ นดิ ​พันธต์​ุ า่ งถ​ ิ่นเ​ขา้ ม​ า

       การนำ�​สิ่ง​มี​ชีวิต​ต่าง​ถิ่น​ที่​เรียก​ว่า ชนิด​พันธุ์​ต่าง​ถิ่น​เข้า​มา​ไม่​ว่า​จะ​เป็น​สัตว์​หรือ​พืช ทำ�ให้​ความ​
หลาก​หลาย​ทาง​พันธุกรรม​และ​ความ​หลาก​หลาย​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ลด​ลง เนื่องจาก​ชนิด​พันธุ์​ต่าง​ถิ่น​ที่​นำ�​เข้า​มา​มี​
ความ​สามารถ​ปรับต​ ัว แก่งแย่ง​แข่งขันไ​ด้​ดีม​ ากกว่าพ​ ันธุ์​ท้องถ​ ิ่น ทำ�ให้​เกิดก​ าร​รุกรานช​ นิดพ​ ันธุ์​อื่นๆ โดย​อาจ​
จะข​ ัดข​ วางก​ ารเ​จริญเ​ติบโตห​ รือก​ ารด​ ำ�รงช​ ีวิต จนท​ ำ�ใหช้​ นิดพ​ ันธุอ์​ ื่นเ​กิดก​ ารล​ ดจ​ ำ�นวนป​ ระชากรล​ ง นอกจากน​ ี​้
ชนดิ พ​ นั ธตุ​์ า่ งถ​ ิน่ บ​ างช​ นดิ ส​ ามารถเ​จรญิ เ​ตบิ โตไ​ดอ​้ ยา่ งร​ วดเรว็ แ​ ละก​ อ่ ใ​หเ​้ กดิ ค​ วามย​ ากล​ �ำ บากใ​นก​ ารก​ �ำ จดั เชน่
การนำ�​ผักต​ บช​ วาเ​ข้าม​ าใ​นป​ ระเทศไทย ในป​ ัจจุบัน ผักต​ บช​ วาก​ ลายเ​ป็นว​ ัชพืชท​ ีเ่​จริญเ​ติบโตไ​ดอ้​ ย่างร​ วดเร็วใ​น​
แม่นํ้า ก่อ​ให้เ​กิด​มลภาวะ​ทาง​นํ้า ส่ง​ผล​ต่อก​ ารด​ ำ�รง​ชีวิตข​ องส​ ัตว์​นํ้า​ชนิดอ​ ื่นๆ

5. 	ภาวะโ​ลก​รอ้ น

       อุณหภูมิ​ของ​โลก​ที่​เพิ่ม​สูง​ขึ้น เกิด​สภาพ​ที่​เรียก​ว่า ภาวะ​เรือน​กระจก หรือ​ภาวะ​โลก​ร้อน ทำ�ให้​เกิด​
ผลก​ระท​ บใ​นร​ ะดับ​โลก​และร​ ะดับภ​ ูมิภาค​ทั้งท​ างก​ ายภาพแ​ ละ​ชีวภาพ เช่น อุณหภูมิ​ที่​สูงข​ ึ้น ทำ�ให้ก​ ารร​ ะเหย​
ของน​ ํ้า​ทะเล มหาสมุทร แม่นํ้า ลำ�ธาร และท​ ะเลสาบ​เพิ่มม​ าก​ขึ้น ยิ่งจ​ ะท​ ำ�ให้​ฝนต​ ก​มากข​ ึ้น และก​ ระจุกต​ ัวอ​ ยู​่
ในบ​ าง​บริเวณ ทำ�ให้เ​กิด​อุทกภัย ส่วน​บริเวณอ​ ื่นๆ ก็จ​ ะ​เกิดป​ ัญหา​แห้ง​แล้ง เนื่องจากฝ​ น​ตกน​ ้อย​ลง รูป​แบบ​
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58