Page 52 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 52

3-42 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

เรือ่ งท​ ี่ 3.2.2 	ปจั จัย​ท​ีม่ ​ีอิทธพิ ลต​ อ่ ​ความ​หลากห​ ลาย​ทางช​ วี ภาพ

       ปัจจัยท​ ี่ม​ ีอ​ ิทธิพล​ต่อก​ ารล​ ด​ลงข​ องค​ วาม​หลากห​ ลายท​ าง​ชีวภาพ มี​หลายป​ ระการ ความห​ ลากห​ ลาย​
ทางช​ วี ภาพท​ มี​่ หี ลายป​ ระเภทน​ ัน้ หากค​ วามห​ ลากห​ ลายป​ ระเภทห​ นึง่ ล​ ดล​ งจ​ ะท​ �ำ ใหค​้ วามห​ ลากห​ ลายอ​ กี ป​ ระเภท​
ลด​ลง​ด้วย เช่น หาก​ความ​หลาก​หลาย​ทาง​พันธุกรรม​ลด​ลง​ก็​จะ​ทำ�ให้​ความ​หลาก​หลาย​ใน​เรื่อง​ของ​ชนิด​หรือ​
สปีชีส​ ์​ลดล​ งต​ าม​ไป​ด้วย ปัจจัยท​ ี่ม​ ี​อิทธิพล​ต่อก​ ารล​ ดล​ งข​ อง​ความห​ ลาก​หลายท​ าง​ชีวภาพ ได้แก่ การ​สูญ​พันธุ์
การ​ลดพ​ ื้นที่แ​ ละ​การ​แบ่งแ​ ยก​พื้นที่ การ​ทำ�ให้ป​ นเ​ปื้อน การนำ�​ชนิดพ​ ันธุ์​ต่างถ​ ิ่นเ​ข้าม​ า และ​ภาวะ​โลก​ร้อน

1. 	การ​สญู ​พนั ธุ์

       สิ่งม​ ีช​ ีวิตแ​ ต่ละช​ นิดจ​ ะส​ ามารถ​ดำ�รงเ​ผ่าพ​ ันธุ์ไ​ด้โ​ดยก​ ารส​ ืบพันธุ์ ความ​ยั่งยืน​ของป​ ระชากร​ของส​ ิ่งม​ ี-
ช​ วี ติ แ​ ตล่ ะช​ นดิ จ​ งึ ข​ ึน้ อ​ ยกู​่ บั ค​ วามส​ ามารถใ​นก​ ารด​ �ำ รงห​ รอื ก​ ารเ​พิม่ จ​ �ำ นวนล​ กู ห​ ลานใ​นร​ ุน่ ต​ อ่ ๆ ไป ความส​ ามารถ​
ในก​ ารเ​จริญพ​ ันธุข์​ องส​ ิ่งม​ ชี​ ีวิตแ​ ต่ละช​ นิดจ​ ะม​ มี​ ากน​ ้อยเ​พียงใ​ด มคี​ วามส​ ัมพันธก์​ ับจ​ ำ�นวนข​ องป​ ระชากรใ​นว​ ัย​
เจริญ​พันธุ์ อัตราส่วน​ของ​เพศ อัตรา​การ​เจริญ​พันธุ์ อัตรา​การ​อยู่​รอด​ของ​ประชากร​ก่อน​วัย​เจริญ​พันธุ์ และ​
โอกาส​การ​จับ​คู่ผสม​พันธุ์​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ชนิด​นั้นๆ ดัง​นั้น เมื่อ​ประชากร​ที่​เจริญ​พันธุ์​ได้​ประสบ​ปัญหา​จำ�นวน​
ลด​ลง จึง​เสี่ยง​ต่อก​ ารส​ ูญพ​ ันธุ์​ของ​ประชากร​นั้น และส​ ิ่ง​มี​ชีวิตใ​ด​ก็ตาม หากม​ ีจ​ ำ�นวน​ประชากร​ลด​ลง​มากๆ ก็​
จะ​ทำ�ให้​ความ​หลาก​หลาย​ทาง​พันธุกรรมล​ ด​ลง​ด้วย และ​ใน​ที่สุด​ก็​จะ​สูญ​พันธุ์​ไป การ​สูญ​พันธุ์​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​
เป็นการ​สูญ​เสีย​ความ​หลาก​หลาย​ทาง​ชีวภาพ​ที่​สำ�คัญ​มาก เพราะ​การ​สูญ​พันธุ์​หมาย​ถึง​การ​หมด​สิ้น​ไป​ของ​
แหล่งพ​ ันธุกรรมจ​ ำ�นวนม​ ากพ​ ร้อมๆ กัน ทั้งหมดโ​ดยไ​ม่อ​ าจห​ าห​ รือส​ ร้างม​ าท​ ดแทนไ​ด้ ในป​ ัจจุบันค​ วามห​ ลาก​
หลายท​ างช​ ีวภาพไ​ดส้​ ูญเ​สียไ​ปอ​ ย่างร​ วดเร็ว โดยก​ ารส​ ูญเ​สียช​ นิดพ​ ันธุม์​ ีส​ าเหตทุ​ ั้งท​ างต​ รงแ​ ละท​ างอ​ ้อมม​ าจ​ าก​
กิจกรรม​ของ​มนุษย์​ไม่​ว่า​จะ​เป็นการ​ล่า หรือ​การ​ตัด​ไม้ ทำ�ลาย​ป่าหรือเพื่อ​วัตถุประสงค์​ใด​ก็ตามหาก​มี​มาก
​เกินไ​ป​ก็​เป็นป​ ัจจัยห​ นึ่งท​ ี่ท​ ำ�ให้​ความ​หลาก​หลายท​ างช​ ีวภาพล​ ด​ลง

       แม้ว่าส​ ิ่งม​ ชี​ ีวิตท​ ีม่​ ปี​ ระชากรข​ นาดเ​ล็กจ​ นไ​มถ่​ ึงข​ ั้นส​ ูญพ​ ันธุ์ คือ เท่ากับข​ นาดข​ องป​ ระชากรท​ ีน่​ ้อยท​ ี่สุด​
ทีค่​ วรจ​ ะม​ ี ทีเ่​รียกว​ ่า minimum viable population แตก่​ ท็​ ำ�ใหเ้​กิดส​ ภาพก​ ารส​ ุ่มเ​สี่ยงท​ างพ​ ันธุกรรมแ​ ละเ​กิด​
การ​ผสมพ​ ันธุ์​ใน​หมู่​ญาติโ​ดย​ปริยาย ซึ่ง​ทำ�ให้​ความห​ ลาก​หลายท​ างพ​ ันธุกรรม​ลดล​ ง เป็นการ​เพิ่มอ​ ัตรา​เสี่ยง​
อีก​ทาง​หนึ่ง​ที่​เรียก​ว่า​เป็นการ​สุ่ม​เสี่ยง​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​มี​ประชากร​ขนาด​เล็ก การ​สุ่ม​เสี่ยง​ดัง​กล่าว​อาจ​จะ​ทำ�ให้​
เกิดป​ รากฏการณ์ท​ ี่ส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตซ​ ึ่งม​ ีล​ ักษณะเ​หมาะส​ มก​ ับส​ ิ่งแ​ วดล้อมถ​ ูกค​ ัดอ​ อกไ​ปโ​ดยบ​ ังเอิญ หรือก​ ล่าวอ​ ีกน​ ัย​
หนึ่ง สิ่ง​มี​ชีวิต​ซึ่ง​มี​ลักษณะ​ด้อย​กว่า​อาจ​จะ​อยู่​รอด​ได้​หรือ​มี​จำ�นวน​มากกว่า ทั้งนี้​ด้วย​ความ​บังเอิญ​มากกว่า​
ความส​ ามารถใ​น​การ​ปรับ​ตัว ใน​สภาพท​ ั่วไป​มี​หลาย​ปัจจัยท​ ี่​จะ​เป็น​ตัว​กำ�หนดข​ นาด​ของ​ประชากร​ที่​เล็ก​ที่สุด
คือ ความ​หลาก​หลาย​ทาง​พันธุกรรม อัตรา​การ​เกิด อัตรา​การ​ตาย การ​เคลื่อน​ย้าย​ถิ่น ความ​แปรปรวน​ของ​
สิ่งแ​ วดล้อม และจ​ ากม​ นุษย์ เป็นต้น
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57