Page 51 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 51
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-41
3) เขตห นาวแ บบท นุ ด รา (tundra zone) บริเวณต อนบ นข องป ระเทศร ัสเซีย เป็นบ ริเวณ
ทมี่ คี วามห ลากห ลายท างช วี ภาพน ้อยม าก ในพ ืน้ ทนี่ จี้ ะม สี ิง่ ม ชี ีวิตน ้อยช นดิ แ ตม่ ปี รมิ าณม าก เชน่ ในป ่าพ ืน้ ที่ 1
เฮกเตอร์ ถ้าเป็นเขตร ้อนช ื้นในป ระเทศไทยจ ะพ บพ ันธุไ์ม้ม ากกว่า 10 ชนิด แตใ่นเขตน ี้จ ะพ บไม่เกิน 10 ชนิด
4) เขตหนาวขั้วโลก (pole) เป็นพื้นที่ที่ไม่มีสิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่เลย เพราะสภาพพื้นที่มี
แต่ภ ูเขานํ้าแข็ง ภูมิภาคนี้ค ือ ขั้วโลกใต้
2. ความส �ำ คัญของความห ลากห ลายท างชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพนั้นเป็นความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตซึ่งมีอยู่ระหว่างชนิดพันธุ์
สายพันธุ์ และระหว่างระบบนิเวศที่สิ่งมีชีวิตอาศัยอยู่ ในระบบนิเวศแต่ละแห่งจะมีความหลากหลายทาง
ชีวภาพซับซ้อนแตกต่างกันไป ซึ่งความหลากหลายนี้ส่งผลต่อการดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิตที่แตกต่างกัน
ก่อให้เกิดความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตซึ่งกันและกัน มนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของชีวภาพจึงต้องพึ่งพาอาศัย
สิ่งม ีช ีวิตด ้วยก ันเพื่อก ารด ำ�รงอ ยู่ข องช าติพันธุ์ต ่างๆ ความห ลากห ลายท างช ีวภาพจ ึงม ีค วามส ำ�คัญแ ละก ่อให้
เกิดประโยชน์ต่อม นุษย์ม ากมายม หาศาลทั้งท างต รงและท างอ ้อม ตามรายละเอียด ดังนี้
2.1 ด้านการบริโภค ความหลากหลายทางชีวภาพเป็นต้นกำ�เนิดของปัจจัย 4 ได้แก่ ที่อยู่อาศัย
เครื่องนุ่งห่ม อาหาร และยารักษาโรค ซึ่งเป็นป ัจจัยท ี่สำ�คัญท ี่สุดต่อการดำ�รงชีวิตของม นุษย์ ในด ้านอ าหาร
มนุษย์ได้บ ริโภคอ าหารท ี่มีจากท ั้งพืชแ ละส ัตว์ พืชแ ละสัตว์ห ลากหลายช นิดถูกนำ�มาป ระกอบอ าหาร สำ�หรับ
ความห ลากห ลายท างช วี ภาพท ีม่ นษุ ยน์ �ำ มาใชใ้นก ารป รบั ปรงุ ค ดั เลอื กพ นั ธุ์ เพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลผลิตม ากข ึน้ เนื่องจาก
เป็นพืชที่มีการบริโภคกันมาก เช่น ข้าว ข้าวโพด มีการค้นพบข้าวโพดที่ทนทานต่อโรคที่เกิดจากเชื้อไวรัส
ในป่าประเทศเม็กซิโก ในโลกมีเขตที่มีความหลากหลายของพืชที่สำ�คัญอยู่ 12 เขต จัดเป็นเขตที่มีความ
หลากห ลายทางชีวภาพที่ม นุษย์นำ�มาใช้ป ระโยชน์ด ้านแ หล่งอาหาร
2.2 ด้านการแพทย์ มีการใช้ประโยชน์จากพืชและสัตว์ในทางการแพทย์มากมายประมาณร้อยละ
25 ของย าร กั ษาโรคท ผี่ ลติ ข ึน้ ม าจากพ ชื ด ัง้ เดมิ เชน่ ในป ระเทศไทยม กี ารค น้ พ บส มนุ ไพรท มี่ ฤี ทธติ์ า้ นม าลาเรยี
ได้แก่ มะพูด และช ะมวง
2.3 ด้านการผลิต ผลผลิตจากป่านำ�มาใช้ประโยชน์ในการผลิตด้านอุตสาหกรรมทั้งโดยตรง เช่น
การท ำ�เครื่องเรือนจากไม้ และประโยชน์โดยอ้อม เช่น การส กัดสารเคมีจากพ ืชในป ่า
2.4 ด้านอื่นๆ นอกจากความหลากหลายทางชีวภาพจะมีประโยชน์ด้านอาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยา
รักษาโรค และที่อยู่อาศัยเพื่อความอยู่รอดแล้ว ยังมีประโยชน์และความสำ�คัญในการด้านการท่องเที่ยว
การอำ�นวยความสะดวกส บาย ความบันเทิงและอื่นๆ อย่างห าข อบเขตม ิได้ และยังม ีค วามส ำ�คัญทางวิชาการ
การวิจัย และเป็นแ หล่งเรียนร ู้ที่ส ำ�คัญ เพื่อการอ นุรักษ์แ ละการพัฒนาสิ่งแวดล้อมท ี่ย ั่งยืน
หลังจากศ ึกษาเนื้อหาส าระเรื่องท ี่ 3.2.1 แล้ว โปรดปฏิบัติกิจกรรม 3.2.1
ในแ นวการศ ึกษาหน่วยท ี่ 3 ตอนที่ 3.2 เรื่องที่ 3.2.1