Page 56 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 56

3-46 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

เปลี่ยนแปลง​ไป​ตาม​กาล​เวลา การ​อนุรักษ์​จึง​ไม่​ควร​อนุรักษ์​เฉพาะ​ป่า​ที่​สมบูรณ์​ดั้งเดิม​เท่านั้น ป่า​รุ่น​สอง​ก็​มี​
ความ​สำ�คัญ​ป่า​ก็​สามารถ​ฟื้น​ตัว​เอง​ได้ การ​ทดแทน​ทาง​นิเวศวิทยา​นั้น​มี​ตลอด​เวลา วัน​หนึ่ง​ป่า​รุ่น​สอง​เหล่า​นี​้
ก็ก​ ลับ​เป็น​ป่าด​ ั้งเดิม​อีกค​ รั้งไ​ด้ ป่า​ดั้งเดิมอ​ าจ​ถูก​ภัย​พิบัติธ​ รรมชาติ เช่น พายุ ไฟ​ป่า แผ่น​ดินไ​หว กลายเ​ป็น​
ป่า​รุ่นส​ องไ​ด้​เช่นเ​ดียวกัน เนื้อที่ใ​นก​ าร​อนุรักษ์​จึงค​ วรก​ ว้างข​ วาง​พอที่​จะค​ รอบคลุมย​ ุคต​ ่างๆ ของ​การท​ ดแทน
เช่น ป่า​เหล่า ป่าใส หรือ​ไร่​ทราก​ไว้​ด้วย ยุค​ต่างๆ ของก​ าร​ทดแทนเ​หล่า​นี้​ล้วน​มี​ประโยชน์ท​ ั้งส​ ิ้น

       การอ​ นุรกั ษค​์ วามห​ ลากห​ ลายท​ างช​ ีวภาพโ​ดยว​ ิธกี​ ารเ​พาะป​ ลูกแ​ บบด​ ั้งเดิม เช่น วนเ​กษตร สวนโ​บราณ
และ​อื่นๆ การ​ทำ�วน​เกษตร​นั้น​มี​หลาย​รูป​แบบ เช่น การ​ปลูก​ต้นไม้​ผสม​ผสาน​กับ​พืช​เกษตร​หลาย​ชนิด ปลูก​
ต้นไม้​เป็น​แถว​สลับ​กับ​พืช​เกษตร การ​ปลูก​ต้นไม้​เป็น​แนว​กัน​ลม​หรือ​ล้อม​รอบ​รั้ว​บ้าน หรือ​รอบ​แปลง​เกษตร
หรือก​ ารนำ�​ต้นไม้ไ​ปป​ ลูก​ใน​ไร่​นา ยัง​เป็นท​ ี่อ​ าศัยข​ องส​ ิ่ง​มีช​ ีวิตอ​ ื่น เช่น นกช​ นิดต​ ่างๆ และย​ ังม​ ี​พืชล​ ้มลุกห​ ลาย​
ชนิดท​ ีเ​่ ติบโตอ​ ยูภ​่ ายใ​ตร​้ ่มเ​งาข​ องต​ ้นไมใ​้ หญ่ จึงเ​ป็นการช​ ่วยอ​ นรุ ักษค​์ วามห​ ลากห​ ลายท​ างช​ ีวภาพไ​วร้​ ะดับห​ นึ่ง
และ​ถ้าห​ ากห​ ลายๆ บ้าน​หลายๆ แห่ง ช่วย​กันแ​ บบ​นี้ต​ ิดต่อ​กันไ​ปจ​ นถึง​ป่า​ธรรมชาติ ป่าเ​หล่า​นี้ก​ ็​เป็น​เส้นท​ าง​
อพยพ​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ได้​ดี​อย่าง​หนึ่ง​ที​เดียว การ​ทำ�​สวน​ครัว​หลาย​ชนิด​หรือ​สวน​ผล​ไม้​ที่​มี​พืช​ปะปน​หลาย​ชนิด
ล้วน​เป็นการ​อนุรักษ์​พันธุ์​พืช​และ​สัตว์​ที่​เป็น​ประโยชน์​กับ​มนุษย์​ทั้ง​สิ้น ตัวอย่าง​การ​ทำ�วน​เกษตร​โดย​ผู้ใหญ่​
วิบูลย์ เข็ม​เฉลิม ที่​จังหวัด​ฉะเชิงเทรา​ใน​เนื้อที่​เพียง 9 ไร่ มีพ​ รรณ​พืช​กว่า 400 ชนิด ส่วนช​ าว​กะเหรี่ยง​ดั้งเดิม​
ทีอ่​ าศัยอ​ ยูใ่​นเ​ขตร​ ักษาพ​ ันธุส์​ ัตวป์​ ่าท​ ุ่งใหญน่​ เรศวร จังหวัดก​ าญจนบุรี กม็​ วี​ ิธกี​ ารเ​พาะป​ ลูกโ​ดยม​ พี​ ื้นทีป่​ ลูกใ​น​
ไร่ไ​ม่น​ ้อย​กว่า 48 ชนิด และ​มีก​ าร​ปลูกข​ ้าวไ​ม่ต​ ํ่าก​ ว่า 14 สายพ​ ันธุ์ นี่​เป็นต​ ัวอย่าง​ที่​แสดง​ให้เ​ห็น​ว่า การ​เพาะ​
ปลูก​แบบ​ดั้งเดิมช​ ่วย​รักษาค​ วาม​หลากห​ ลาย​ทางช​ ีวภาพ​ได้ด​ ีร​ ะดับ​หนึ่ง

       สวน​โบราณ (forest garden) มี​ทำ�​กัน​มา​นาน​ใน​ภาค​ใต้​ของ​ไทย​เรา​ไป​จนถึง​ใน​ชวา ใน​ที่ดิน​เหล่า​นี้​
ให้​อาหาร​หลาย​ชนิด เช่น ผล​ไม้ ผัก บางที​ก็​มี​การ​เลี้ยง​สัตว์​ให้​เนื้อ​และ​ไข่ ถ้า​รวม​กัน​ทั้ง​หมู่บ้าน​ก็​ให้​พืช​นับ​
ร้อยๆ ชนิด มี​ทั้ง​พืช​ล้มลุก ไม้​ยืนต้น ไม้​เลื้อย ไม้เ​ถา ไม้พ​ ุ่ม ต้นไม้ส​ ูง 10-35 เมตร การ​เลี้ยง​สัตว์ ทำ�​บ่อ​เลี้ยง​
ปลา การ​ทำ�​ปุ๋ยห​ มัก​จาก​กิ่ง​ไม้ ใบไม้​ก็​เป็นการ​หมุนเวียนข​ องธ​ าตุอ​ าหาร รักษา​ความ​อุดมส​ มบูรณ์​ของ​พื้นด​ ิน​
ที่ทำ�การเ​กษตรน​ ั้น​ได้เ​ป็น​อย่างด​ ี การท​ ำ�​สวนโ​บราณ​นี้เ​ป็น​ระบบเ​กษตรกรรมอ​ ย่างย​ ั่งยืน

       การ​อนุรักษ์​ควร​มี​การ​วางแผน​และ​จัดการ​โดย​ให้​มี​พื้นที่​ซึ่ง​มี​วัตถุประสงค์​หลาย​อย่าง เช่น อาจ​
ให้​มี​พื้นที่​ถึง 3 โซน คือ บาง​โซน​เพื่อ​การ​อนุรักษ์​สิ่ง​มี​ชีวิต​บาง​ชนิด​ที่​อยู่​ใน​ภาวะ​ใกล้​สูญ​พันธุ์ บาง​โซน​เพื่อ​
การ​ศึกษา​ค้นคว้า​วิจัย​ป่า​ธรรมชาติ ส่วน​บาง​โซน​เป็นการ​อนุรักษ์​ป่า​ดั้งเดิม​ไว้​ตาม​สภาพ​ธรรมชาติ​โดย​ไม่​ให้​
มี​การ​เปลี่ยนแปลง​ธรรมชาติ​เพื่อ​การ​ใดๆ ทั้ง​สิ้น ใน​บาง​กรณี​อาจ​มี​ชุมชน​ดั้งเดิม​อาศัย​อยู่ เช่น บาง​พื้นที่​มี​
ชาว​กะเหรี่ยง​ที่​อาศัย​มา​นาน​นับ​ร้อย​ปี​หรือ​เกาะ​บาง​แห่ง​มี​ชาวเล​ตั้ง​ถิ่นฐาน​อยู่​มา​นาน หาก​เป็น​ไป​ได้​ก็​ควร​ให้​
ชุมชน​ดั้งเดิม​นี้​ได้​มี​ส่วน​ร่วม​ใน​การ​จัดการ​ป่า​อนุรักษ์​นั้น​ด้วย การก​ระ​ตุ้น​ให้​มี​การ​อนุรักษ์​ความ​หลาก​หลาย​
ทางช​ ีวภาพร​ ะดับ​ท้องถ​ ิ่นน​ ั้น ล้วน​เป็นการ​ช่วยอ​ นุรักษ์​ความห​ ลากห​ ลาย​ทาง​ชีวภาพไ​ด้เ​ป็น​อย่าง​ดี โดยใ​ห้เ​ขา​
ได้​รับ​ผล​ประโยชน์​จาก​การ​จัด​ป่า​อนุรักษ์​นั้น​บ้าง เพื่อ​บำ�บัด​ความ​ต้องการ​พื้น​ฐาน​ใน​การ​ดำ�รง​ชีพ และ​ให้​ป่า​
อนุรักษ์อ​ ำ�นวยผลป​ ระโยชน์​ต่อช​ ีวิตค​ วาม​เป็น​อยู่ข​ อง​ชุมชน

             หลังจ​ ากศ​ ึกษา​เนื้อหา​สาระ​เรื่อง​ที่ 3.2.3 แล้ว โปรดป​ ฏิบัติกิจกรรม 3.2.3
                      ในแ​ นวก​ าร​ศึกษาห​ น่วย​ที่ 3 ตอน​ที่ 3.2 เรื่องท​ ี่ 3.2.3
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61