Page 55 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 55
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-45
นิเวศให้มีการฟื้นตัวกลับมาเป็นเช่นเดิมหลักจากการถูกทำ�ลาย การฟื้นฟูป่าเสื่อมโทรม นับว่าเป็นวิธีช่วย
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติได้ร ะดับห นึ่ง การฟ ื้นฟูน ั้นม ีห ลายว ิธี นับต ั้งแต่ก ารป ลูกต ้นไม้พ ื้นเมืองช นิดเดียว
หรือสองส ามชนิด จนกระทั่งถ ึงก ารจ ัดการให้มีการส ืบพันธุ์ตามธ รรมชาติเพื่อให้ป่าฟ ื้นต ัวอีกครั้ง เนื่องจาก
ข ณะน ีป้ า่ ด ัง้ เดมิ ถ ูกท ำ�ลายไปม ากแ ลว้ วธิ นี นี้ บั ว า่ จ ะม บี ทบาทม ากข ึน้ ซึง่ ว ิธกี ารน ีไ้ดป้ ระโยชน์ 2 ทาง คือ มนษุ ย์
ได้ใช้ประโยชน์ได้บ้าง และในขณะเดียวกันก็ช ่วยรักษาท รัพยากรท างชีวภาพได้อ ีกด ้วย
2. การอนุรักษ์สิ่งมีชีวิตเป็นรายชนิดนอกถ่ินกำ�เนิดตามธรรมชาติ เช่น การก่อตั้งสวนสัตว์ สวน
พฤกษศาสตร์ และธนาคารเมล็ดพันธุ์ เป็นต้น วิธีนี้อาจใช้ได้ดีในกรณีที่สิ่งมีชีวิตชนิดนั้นไม่ปลอดภัยที่จะ
อยู่ตามธรรมชาติ วิธีการนี้เป็นการอนุรักษ์ชั่วคราว และคาดว่าสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นจะได้กลับคืนสู่ธรรมชาติ
อีกครั้ง
พื้นที่ในก ารอ นุรักษ์ เช่น อุทยานแ ห่งช าติ เขตร ักษาพ ันธุ์ส ัตว์ป ่า เป็นเครื่องม ือส ำ�คัญย ิ่งในก ารร ักษา
ความห ลากห ลายท างช วี ภาพ พื้นทอี่ นรุ ักษค์ วรเป็นห น่วยท างน ิเวศวิทยาท มี่ เี นือ้ ทกี่ ว้างใหญพ่ อเพยี ง มหี ลายๆ
กรณที ีน่ กแ ละส ัตวเ์ลี้ยงล ูกด ้วยน ํ้านมป ระจำ�ถิ่นต ้องการเนื้อทีก่ ว้างใหญส่ ำ�หรับก ารด ำ�รงช ีวิตท ีค่ รอบคลุมถ ิ่น
กำ�เนิดธรรมชาติหลายประเภทในการดำ�รงชีวิต ซึ่งต้องการเนื้อที่มากกว่าพื้นที่อนุรักษ์ที่ได้ประกาศเป็นเขต
อุทยานแ ห่งช าติ และเขตรักษาพันธุ์ส ัตว์ป ่า
พื้นที่อนุรักษ์ถ้ามีขนาดเล็กจะได้รับผลกระทบจากอิทธิพลของแนวขอบป่ามาก อิทธิพลแนวขอบ
ป่า คือ อัตราส่วนร ะหว่างร ะยะท างของแนวขอบป่ากับเนื้อที่ภายในตามแนวขอบป่า แสงสว่างจ ะส่องเข้าไป
ในป่าได้มาก อากาศใกล้ผิวดินตามแนวขอบป่าจะผันแปรมาก พืชหลายชนิดได้ปรับตัวเองให้เข้ากับสภาพ
ภายในป่า ทำ�ให้ไม่สามารถอาศัยตามแนวขอบป่าได้ การมีขอบป่ามากๆ จะทำ�ให้เกิดมลพิษและคนอพยพ
เข้าไปทำ�ลายได้ง ่าย
พื้นที่อนุรักษ์หลายแห่งมีสภาพเป็นเกาะอยู่ท่ามกลางป ่าที่เสื่อมโทรม หรือท่ามกลางบ ริเวณที่ปลูก
พืชไร่ การแบ่งพื้นที่อนุรักษ์ออกเป็นหย่อมๆ เช่น ถูกถนนตัดผ่าน หรือมีอ่างเก็บนํ้าเป็นแนวยาวที่เกิดจาก
การสร้างเขื่อน จะมีผลกระทบมากต่อการดำ�รงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ในที่สุดความหลากหลายทางชีวภาพจะ
ลดลง พื้นที่ยิ่งมีขนาดเล็ก จำ�นวนสิ่งมีชีวิตที่พบจะมีจำ�นวนชนิดลดลงด้วย ตามทฤษฎีชีวภูมิศาสตร์ของ
เกาะ (theory of island biogeography) ที่กล่าวไว้ว่า “ถ้าสูญเสียพื้นที่ไปร้อยละ 90 หรือมีเหลือเพียง
ร้อยละ 10 ในที่สุดจะทำ�ให้สิ่งมีชีวิตสูญพันธุ์ไปครึ่งหนึ่ง” ดังนั้น พื้นที่อนุรักษ์จึงไม่ควรตํ่ากว่าร้อยละ 10
อย่างไรก ็ตาม ในป ัจจุบันมีพื้นที่อ นุรักษ์เพียงร ้อยล ะ 3.2 ของพื้นที่บ นโลกท ั้งหมดเท่านั้น
ป่าด ั้งเดิมน ั้นค วรเป็นจ ุดศูนย์กลางข องก ารอ นุรักษ์ แต่ป ่าท ี่เกิดข ึ้นใหม่ภ ายห ลังป ่าด ั้งเดิมถ ูกท ำ�ลาย
(secondary forest) นั้นก็มีความส ำ�คัญเช่นกัน ป่าร ุ่นส องนี้บางทีเรียกว่าป่าเหล่า ป่าใส หรือไร่ทราก มีพ ันธุ์
พืชแ ละสัตว์ห ลายชนิดที่พ บเฉพาะในป่าร ุ่นสอง แต่ไม่พบในป ่าด ั้งเดิม มีการศึกษาช ี้ให้เห็นว่า ในป ่ารุ่นส องนี้
มพี ืชอ าหาร และส มุนไพรที่เป็นป ระโยชน์หลายช นิด จำ�นวนพ ืชท ีเ่ป็นป ระโยชน์ค ่อนข ้างจ ะม ากกว่าท ีพ่ บในป ่า
ดั้งเดิมเสียอีก ดังนั้นจึงค วรอนุรักษ์ป ่ารุ่นสองไว้เช่นเดียวกัน
แนวความคิดเก่าๆ ที่มักมุ่งอนุรักษ์เฉพาะป่าสมบูรณ์เอาไว้นั้นไม่ได้ผล เช่น เคยมีการอนุรักษ์ป่า
สมบูรณ์ผ ืนเล็กๆ ไว้ ต่อมาคนเข้าไปเที่ยว เดินเหยียบย ํ่าต ้นไม้ก ็เสื่อมโทรมล งตามลำ�ดับ เพราะป่านั้นม ีก าร