Page 54 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 54

3-44 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

ของฝ​ น​และอ​ ุณหภูมิท​ ี่เ​ปลี่ยนแปลง​ไป​ทำ�ให้ว​ ัฏจักร​ของ​นํ้าเ​ปลี่ยนแปลง ลักษณะ​การไ​หล​ของร​ ะบบน​ ํ้าผ​ ิว​ดิน
และร​ ะดับน​ ํ้าใ​ต้ดิน​ก็จ​ ะไ​ด้​รับ​ผลก​ระท​ บ​ด้วย ทั้ง​พืช​และส​ ัตว์จ​ ึง​ต้อง​ปรับปรุง​ตัว​เอง​เข้าส​ ู่​ระบบ​นิเวศท​ ี่​เปลี่ยน​
ไป ลักษณะ​ความห​ ลาก​หลาย​ทาง​ชีวภาพ​ก็จ​ ะ​เปลี่ยนแปลง​ตามไ​ปด​ ้วย นอกจากน​ ี้ ระบบน​ ิเวศท​ าง​ทะเล​ก็​เป็น​
อีกร​ ะบบน​ ิเวศห​ นึ่งท​ ี่จ​ ะไ​ด้ร​ ับผ​ ลกร​ ะท​ บจ​ ากภ​ าวะโ​ลกร​ ้อน เนื่องจากเ​มื่ออ​ ุณหภูมิส​ ูงข​ ึ้น ทำ�ให้น​ ํ้าแ​ ข็งท​ ี่ข​ ั้วโ​ลก​
ละลาย​เพิ่ม​มาก​ขึ้น ส่ง​ผล​ต่อ​ระดับ​นํ้า​ทะเล​ที่​ขึ้น​สูง ทำ�ให้​เกิด​ความ​เสีย​หาย​ต่อ​ระบบ​นิเวศ​ชายฝั่ง เช่น การ​
สูญ​เสีย​พื้นที่​ป่า​ชาย​เลน ซึ่ง​เป็น​แหล่ง​ที่​อยู่​อาศัย​ของ​สัตว์​นํ้า​นานา​ชนิด ทำ�ให้​จำ�นวน​สิ่ง​มี​ชีวิต​ลด​ลง และ​
ภาวะ​โลก​ร้อน​ยัง​ทำ�ให้​อุณหภูมิ​ผิวนํ้า​เพิ่ม​ขึ้น​ส่ง​ผล​ให้​พืช​และ​สัตว์​ทะเล​บาง​ชนิด​สูญ​พันธุ์ รวม​ถึง​การ​เกิด​
ปรากฏการณ์​ปะการัง​ฟอก​สี​ทั้ง​ใน​อ่าว​ไทย​และ​ฝั่ง​ทะเล​อันดามัน ซึ่ง​สภาวะ​ดัง​กล่าว​ทำ�ให้​ความ​หลาก​หลาย​
ทางช​ ีวภาพล​ ด​ลง​และ​เปลี่ยนแปลง​ไปด​ ้วย

             หลัง​จากศ​ ึกษา​เนื้อหาส​ าระ​เรื่องท​ ี่ 3.2.2 แล้ว โปรด​ปฏิบัติกิจกรรม 3.2.2
                      ใน​แนว​การศ​ ึกษา​หน่วย​ที่ 3 ตอน​ที่ 3.2 เรื่อง​ที่ 3.2.2

เรอื่ ง​ที่ 3.2.3 	การอ​ นรุ ักษ์ค​ วามห​ ลาก​หลายท​ างช​ ีวภาพ*

       การส​ ูญเ​สียค​ วามห​ ลากห​ ลายท​ างช​ ีวภาพ ซึ่งเ​ป็นท​ รัพยากรธรรมชาติท​ ี่ส​ ำ�คัญข​ องม​ นุษย์ มนุษย์ร​ ู้จัก​
ใชท้​ รัพยากรส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตต​ ามธ​ รรมชาติเ​หล่าน​ ี้เ​พียงส​ ่วนน​ ้อยเ​ท่านั้น เมื่อเ​ทียบก​ ับป​ ริมาณส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตท​ ี่ม​ ีอ​ ยู่ท​ ั้งม​ วล
การเ​พิ่ม​จำ�นวนข​ องป​ ระชากรอ​ ย่างร​ วดเร็ว การข​ ยายถ​ ิ่นฐาน รวม​ทั้ง​การข​ ยายข​ อบเขตข​ อง​การ​ใช้ท​ รัพยากร​
ทางช​ ีวภาพเ​พื่อค​ วามอ​ ยูร่​ อด และก​ ารกร​ ะท​ ำ�​ของม​ นุษยไ์​ดท้​ ำ�ลายค​ วามห​ ลากห​ ลายท​ างช​ ีวภาพไ​ดท้​ ั้งช​ นิดพ​ ันธุ​์
และ​แหล่ง​ที่อ​ ยู่​อาศัย เช่น การส​ ร้าง​เขื่อน การ​บุกรุก​ทำ�ลาย​ป่า​เพื่อก​ ารเกษตร นอกจาก​นี้​ยังม​ ี​ความเ​ชื่อ​ว่า​สิ่ง​มี​
ชีวิต​ในโ​ลกก​ ำ�ลังถ​ ูกค​ ุกคามแ​ ละจ​ ะส​ ูญ​พันธุ์ไ​ปเ​นื่องจากก​ ารกร​ ะท​ ำ�​ของ​มนุษย์ และจ​ ะม​ ี​สิ่งม​ ี​ชีวิตม​ ากกว่าค​ รึ่ง​
ทีก่​ ำ�ลังจ​ ะส​ ูญพ​ ันธุไ์​ปจ​ ากโ​ลกน​ ีก้​ ่อนท​ ีม่​ นุษยจ์​ ะร​ ู้จักด​ ้วยซ​ ํ้าไ​ป ปัจจุบันท​ ั่วโ​ลกเ​ห็นค​ วามส​ ำ�คัญข​ องค​ วามห​ ลาก​
หลายท​ างช​ ีวภาพ และ​ให้ค​ วามส​ ำ�คัญก​ ับ​การ​อนุรักษ์​ความ​หลากห​ ลายท​ าง​ชีวภาพ ใน​การ​อนุรักษ์ค​ วามห​ ลาก​
หลายท​ างช​ ีวภาพ​นั้น มีว​ ิธี​การห​ ลักอ​ ยู่ 2 วิธี​ดังนี้

       1. 	 การ​จัดการ​พื้นท่ี​อนุรักษ์​และ​การ​ฟ้ืนฟู การ​จัดการ​พื้นที่​อนุรักษ์​เป็นการ​กำ�หนด​พื้นที่​ใน​บริเวณ​
ที่​มี​ระบบ​นิเวศ​ธรรมชาติ​หรือ​ใกล้​เคียง​ธรรมชาติ เช่น การ​จัดการ​ตั้ง​อุทยาน​แห่ง​ชาติ และ​เขต​รักษา​พันธุ์​
สัตว์​ป่า เป็นต้น เพื่อ​การ​รักษา​ระบบ​นิเวศ​ตาม​ธรรมชาติ สำ�หรับ​การ​ฟื้นฟู​เป็นการ​ปรับปรุง​สภาพ​ของ​ระบบ​

	 *รวบรวม​และ​เรียบ​เรียง​จาก สม​ศักดิ์ สุข​วงศ์ (2538) “นิเวศวิทยาของพืช” ใน ประมวล​สาระ​ชุด​วิชา​พฤกษศาสตร์​ขั้น​สูง​
สำ�หรับ​ครู หน่วย​ที่ 13 หน้า 173-176 นนทบุรี สาขาว​ ิชาศ​ ึกษา​ศาสตร์ มหาวิทยาลัย​สุโขทัยธ​ ร​รมาธิ​ราช
   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58   59