Page 61 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 61

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-51

ที่สุด และจ​ ะก​ ระจายอ​ อกไ​ปใ​นบ​ ริเวณท​ ี่ส​ ิ่งแ​ วดล้อมเ​หมาะส​ มน​ ้อยก​ ว่า เช่น ประชากรม​ นุษย์ม​ ักจ​ ะอ​ ยู่ร​ วมก​ ัน​
เป็นกล​ ุ่ม​บริเวณ​ใกล้แ​ หล่งน​ ํ้า ตาม​หุบเขา ใน​เมือง บริเวณใ​กล้​ตลาด หรือ​บริเวณท​ ี่ก​ าร​คมนาคมส​ ะดวก พืช​ก็​
เช่นก​ ันจ​ ะเ​จริญง​ อกงามด​ ีใ​นบ​ ริเวณท​ ี่ม​ ีน​ ํ้าแ​ ละแ​ สงแดดพ​ อเ​พียง ดังน​ ั้น การกร​ ะจ​ ายเ​ป็นกล​ ุ่ม จึงเ​ป็นล​ ักษณะ​
การกร​ ะจ​ ายภ​ ายในป​ ระชากรท​ ี่​พบ​บ่อย​ที่สุด

       1.2 	 การกร​ ะ​จาย​แบบเ​ป็นร​ ะเบยี บ หมายถ​ ึง การ​ที่​ประชากรข​ องส​ ิ่งม​ ี​ชีวิต​ชนิด​ใด​ชนิดห​ นึ่งด​ ำ�รง​ชีวิต​
อยู่ร​ ่วมก​ ันโ​ดยเ​ว้นร​ ะยะก​ ารอ​ ยู่อ​ าศัยห​ ่างก​ ันพ​ อดี ทำ�ให้เ​กิดเ​ป็นแ​ ถวเ​ป็นแ​ นวแ​ บบเ​ป็นร​ ะเบียบ ประชากรข​ อง​
สิง่ ม​ ช​ี วี ติ ซ​ ึง่ อ​ ยรู​่ ว่ มก​ นั แ​ บบก​ ระจายเ​ปน็ ร​ ะเบยี บพ​ บไ​ดน​้ อ้ ยก​ วา่ ก​ ารกร​ ะจ​ ายแ​ บบเ​ปน็ กล​ ุม่ ทัง้ นเี​้ นือ่ งจากส​ ภาวะ​
แวดล้อมโ​ดยท​ ั่วไปม​ ักม​ ีค​ วามแ​ ตกต​ ่างก​ ัน ทำ�ให้ส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตม​ ักจ​ ะไ​ปร​ วมอ​ ยู่ก​ ันท​ ี่จ​ ุดใ​ดจ​ ุดห​ นึ่งม​ ากกว่า อย่างไร​
ก็ตาม ใน​บาง​กรณี​ที่​สภาพ​แวดล้อม​ใน​บริเวณ​ที่​อยู่​อาศัย​ใกล้​เคียง​กัน​มาก​และ​มี​ความ​ขาดแคลน​และ​แข่งขัน​
กัน​ใน​แง่​ของ​ทรัพยากรธรรมชาติ​บาง​อย่าง​มาก เช่น ใน​ทะเล​ทราย​ที่​ขาด​นํ้า พืช​มัก​จะ​เรียง​กัน​อย่าง​ค่อน​ข้าง​
เป็น​ระเบียบต​ ามค​ วามก​ ว้าง​ของก​ าร​แผ่ข​ ยาย​ของร​ าก เป็นต้น

       1.3 	 การก​ระ​จาย​แบบ​ไม่​เป็น​ระเบียบ หมาย​ถึง การ​ที่​สิ่ง​มี​ชีวิต​ใน​ประชากร​อยู่​ร่วม​กัน​แบบ​กระจัด-
กระจายไ​ม่​แน่นอน การก​ระจ​ ายข​ องป​ ระชากร​แบบ​นี้พ​ บ​ได้น​ ้อย​ใน​ธรรมชาติ สิ่ง​มีช​ ีวิตอ​ ยู่ก​ ันใ​นล​ ักษณะ​นี้​ได้​
ต้อง​หมายความ​ว่า สิ่ง​แวดล้อม​ในพ​ ื้นที่ท​ ี่ม​ ัน​อาศัยอ​ ยู่ไ​ม่มี​ความแ​ ตก​ต่างก​ ัน​เลย ซึ่ง​มัก​จะไ​ม่พ​ บ​ในธ​ รรมชาติ
นอกจากน​ ั้นส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตท​ ี่อ​ ยู่ร​ ่วมก​ ันไ​ม่มีก​ ารแ​ ข่งขันก​ ันเ​พื่อใ​ช้ท​ รัพยากรธ​ รรมช​ าต​ ิใ​ดๆ อย่างไรก​ ็ตาม สัตว์เ​ล็กๆ
จำ�พวก​แมลง​บาง​ครั้งอ​ าจ​พบว​ ่า มี​การกร​ ะ​จาย​แบบ​ไม่เ​ป็น​ระเบียบ

2. 	ความ​หนาแ​ น่นข​ องป​ ระชากร*

       สมบัติ​ประการ​หนึ่ง​ที่​เกี่ยวข้อง​กับ​การก​ระ​จาย​ของ​ประชากร คือ ความ​หนา​แน่น​ของ​ประชากร ซึ่ง​
หมาย​ถึง จำ�นวนส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิต​ต่อห​ น่วยพ​ ื้นที่บ​ น​ผิวโ​ลก อาจ​คำ�นวณอ​ อก​มา​ได้ 2 ลักษณะ คือ ความ​หนา​แน่น​โดย​
เฉลี่ย และ​ความ​หนาแ​ น่น​ทาง​นิเวศวิทยา

       2.1 	 ความห​ นาแ​ นน่ ​โดย​เฉล่ยี (crude density) หมายถ​ ึง จำ�นวน​ทั้งหมด​ของป​ ระชากร​ของ​สิ่งม​ ี​ชีวิต​
ชนิด​ใด​ชนิด​หนึ่ง​หาร​ด้วย​พื้นที่​ทั้งหมด​ที่​มัน​อาศัย​อยู่ จะ​ได้​เป็น​ความ​หนา​แน่น​โดย​เฉลี่ย​ของ​ประชากรช​ นิด​
นั้นๆ เช่น ความ​หนาแ​ น่นโ​ดย​เฉลี่ยข​ อง​เสือโ​คร่งม​ ีค​ ่า 10 ตัวต​ ่อ​พื้นที่ 1 ตารางก​ ิโลเมตร หรือ​คน 250 คน​ต่อ​
พื้นที่ 1 ตาราง​กิโลเมตร ความ​หนา​แน่น​โดย​เฉลี่ย​เป็น​ค่าที่​ไม่​ได้​ระบุ​ถึง​สภาวะ​การก​ระ​จาย​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ใน​
ประชากร เนื่องจาก ค่าค​ วามห​ นาแ​ น่น​ไม่ส​ ามารถร​ ะบุไ​ด้​ว่า​คน 250 คนน​ ั้นก​ ระจาย​อยู่ท​ ั่วไปใ​นพ​ ื้นที่ 1 ตาราง​
กิโลเมตร​อย่างไร อาจ​อยู่​รวม​กัน​ในบ​ ริเวณ​ใด​บริเวณห​ นึ่ง​เท่านั้น ซึ่งถ​ ้า​เป็นเ​ช่นน​ ั้นค​ วาม​หนาแ​ น่น​ที่แท้​จริง​จะ​
สูง​กว่า​จำ�นวน​เฉลี่ย​โดยม​ าก

       2.2 	 ความห​ นา​แน่นท​ างน​ ิเวศวทิ ยา (ecological density) หมายถ​ ึง ความห​ นาแ​ น่นข​ อง​ประชากร​ต่อ​
พื้นทีท่​ ีอ่​ าศัยอ​ ยูจ่​ ริง ดังไ​ดก้​ ล่าวแ​ ล้วว​ ่า สิ่งม​ ชี​ ีวิตม​ ักจ​ ะร​ วมก​ ันใ​นป​ ระชากรแ​ บบก​ ารกร​ ะจ​ ายเ​ป็นกล​ ุ่ม เนื่องจาก​
อิทธิพลข​ องส​ ิ่งแ​ วดล้อม บางแ​ ห่งเ​หมาะส​ มในก​ ารด​ ำ�รงช​ ีวิตม​ ากก​ ็จ​ ะม​ ีป​ ระชากรเ​ข้าไปอ​ ยู่อ​ าศัยม​ าก บางแ​ ห่งม​ ​ี

	 *รวบรวม​และ​เรียบ​เรียง​จาก วิฑูรย์ ไวย​นันท์ (2535) “ประชากรกับสิ่งแวดล้อม” ใน เอกสาร​การ​สอน​ชุด​วิชา​วิทยาการ​
สิ่งแวดล้อมสำ�หรับโรงเรียนและชุมชน หน่วยท​ ี่ 2 หน้า 88 นนทบุรี สาขา​วิชาศ​ ึกษาศ​ าสตร์ มหาวิทยาลัย​สุโขทัยธ​ ร​รมาธิร​ าช
   56   57   58   59   60   61   62   63   64   65   66