Page 62 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 62
3-52 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ความเหมาะส มในก ารด ำ�รงช ีวิตน ้อย กจ็ ะม ปี ระชากรเข้าไปอ าศัยอ ยูน่ ้อย ดังน ั้น การท ีจ่ ะเข้าใจถ ึงส ภาวะค วาม
เป็นอยู่ข องป ระชากรจึงต้องค ำ�นวณค วามหนาแ น่นข องป ระชากรโดยเปรียบเทียบก ับที่อาศัยอ ยู่จริง แต่โดย
ทั่วไป ก ารค ำ�นวณค วามห นาแ น่นต ่อพ ื้นทีจ่ ริง บางค รั้งท ำ�ไดย้ ากส ำ�หรับส ัตวบ์ างช นิด โดยเฉพาะอ ย่างย ิ่ง สัตว์
ชนิดท ี่มีการเคลื่อนที่ได้มาก เช่น ประเทศไทยม ีพ ื้นที่ป ระมาณ 200,000 ตารางก ิโลเมตร และจากการส ำ�รวจ
ช้างป่า พบว ่ามีอ ยู่ท ั้งหมด 5,000 เชือก แสดงว่า ความหนาแน่นโดยเฉลี่ยของช้างไทย คือ ประมาณ 1 เชือก
ต่อพ ื้นที่ 40 ตารางก ิโลเมตร แต่ค วามเป็นจ ริงแ ล้ว พื้นที่ของป่าม ีประมาณร้อยละ 25 ตารางกิโลเมตรเท่านั้น
ดังนั้น ความห นาแ น่นทางนิเวศวิทยาข องช้างป ่าจะต้องสูงก ว่าความห นาแน่นโดยเฉลี่ย
3. การเปลีย่ นแปลงป ระชากร
การเปลี่ยนแปลงความหนาแน่นของประชากรส่วนใหญ่เป็นผลโดยตรงมาจากการเปลี่ยนแปลง
ขนาดของประชากร ปัจจัยซึ่งส่งผลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงขนาดของประชากร คือ การเกิด การตาย
และก ารย ้ายถิ่น ซึ่งการย ้ายถิ่นอ าจเป็นการย ้ายอ อกไปจ ากป ระชากรเดิม หรือการย ้ายเข้ามาสู่ประชากรใหม่
อย่างไรก ็ตาม สำ�หรับประชากรซึ่งม ีข นาดใหญ่ การย้ายถ ิ่นต ามปกติม ักไม่ส ่งผ ลกระทบต่อก ารเปลี่ยนแปลง
ประชากรมากน ัก แต่ก ารเปลี่ยนแปลงการเกิดและการต ายจะส่งผลกระท บโดยตรงต่อก ารเพิ่มข ึ้นหรือลดล ง
ของประชากรมากกว่า กล่าวค ือ
มีก ารเกิดมาก + มีการต ายน้อย = ประชากรเติบโตเร็ว
มีการเกิดม าก + มีการต ายม าก = ประชากรจ ะคงที่ในระดับตํ่า
มีก ารเกิดน้อย + มีก ารต ายมาก = ประชากรกำ�ลังล ดลงเรื่อยๆ ซึ่งอ าจน ำ�ไปสู่ก ารสูญพันธุ์
มีก ารเกิดน ้อย + มีก ารตายน้อย = ประชากรจะคงที่ แต่จะมีกลุ่มประชากรวัยชรามาก
3.1 อัตราเกิด การเกิดเป็นการผลิตสิ่งมีชีวิตใหม่เข้ามาในประชากร ดังนั้น การเกิดจึงเป็นองค์-
ประกอบสำ�คัญของการเปลี่ยนแปลงประชากร อัตราเกิดโดยทั่วไปคิดจากจำ�นวนเต็มที่เด็กเกิดทั้งหมดต่อ
1,000 ประชากรต ่อป ี โดยน ำ�จำ�นวนเด็กท ี่เกิดข ึ้นต ลอดป ีห ารด ้วยจ ำ�นวนป ระชากรโดยเฉลี่ย เมื่อต อนก ลางป ี
เรียกว ่า อัตราเกิดเฉลี่ย (crude birth rate)
กำ�หนดให้ b = อัตราเกิดโดยเฉลี่ย
B = จำ�นวนเด็กที่เกิดตลอดป ี
N = จำ�นวนป ระชากรเมื่อตอนกลางป ี
B
b = N × 1,000
ตัวอย่างเช่น ประเทศไทยม ีเด็กแรกเกิดระหว่างวันท ี่ 1 มกราคม ถึง 31 ธันวาคม พ.ศ. 2527 จำ�นวน
1.3 ล้านคน (B) และจำ�นวนป ระชากรเมื่อต อนก ลางป ี (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2528) จำ�นวน 51.9 ล้านค น (N)
อัตราเกิดโดยเฉลี่ยสามารถค ำ�นวณได้ดังนี้ คือ
b = 1,300,000 × 1,000
51,900,000
= 25.05