Page 67 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 67

จำ�นวน​สิ่ง​มี​ชีวิต                                            ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-57

       จากก​ ราฟใ​นภ​ าพท​ ี่ 3.26 แสดงใ​หเ​้ หน็ ว​ า่ ถา้ เ​ราน​ �ำ ​สิง่ ม​ ช​ี วี ติ ช​ นดิ ห​ นึง่ ม​ าเ​ลีย้ งห​ รอื น​ �ำ ​ไปป​ ลอ่ ยใ​นบ​ รเิ วณ​
ที่​ยัง​ไม่​เคย​มีส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิต​ชนิดน​ ี้อ​ ยู่​มาก​ ่อนเ​ลย และถ​ ้าส​ ภาวะ​แวดล้อมเ​หมาะ​สม เช่น อาหารบ​ ริบูรณ์ ที่​อยู่อ​ าศัย​
ดี ศัตรู​น้อย ประชากร​ของส​ ิ่ง​มีช​ ีวิต​ชนิดน​ ั้นจ​ ะ​เพิ่ม​ขึ้น​อย่างร​ วดเร็ว​แบบ​ทบต​ ้นใ​นร​ ะยะแ​ รก จนก​ ระทั่งเ​มื่อม​ ี​
ประชากรม​ ากข​ ึ้นจ​ นถึงร​ ะดับค​ วามส​ ามารถใ​นก​ ารร​ องรับป​ ระชากรข​ องส​ ิ่งแ​ วดล้อม สิ่งแ​ วดล้อมก​ ็จ​ ะเ​ริ่มจ​ ำ�กัด
การเ​ติบโต​ของ​ประชากร​จะ​หยุดล​ ง และจ​ ำ�นวน​ประชากรจ​ ะ​อยู่ใ​น​ระดับ​คงที่​สมดุลก​ ับส​ ิ่ง​แวดล้อม

       ความ​สามารถ​ใน​การ​รองรับ​ประชากร​ของ​สิ่ง​แวดล้อม​อาจ​เปลี่ยน​แลง​ได้​ตาม​ช่วง​เวลา เช่น ตาม​
ฤดูกาล​หรือ​ระหว่าง​ปี​ต่อ​ปี ดัง​นั้น ใน​ช่วง​เวลา​ที่​สิ่ง​แวดล้อม​เหมาะ​สม อาหาร พื้นที่ และ​ทรัพยากร​อื่นๆ มี​
มาก ประชากร​จะ​เติบโตข​ ึ้น แต่​ขณะใ​ด​ที่​สิ่ง​แวดล้อม​เปลี่ยนแปลงแ​ ละเ​ริ่ม​จำ�กัด ประชากรจ​ ะ​ลด​การเ​ติบโต
ตัวอย่าง​เช่น เมื่อ​เริ่ม​ฤดู​ฝน​มี​นํ้า​เพียง​พอ หญ้า และ​พืชพันธุ์​ไม้​ต่างๆ จะ​เริ่ม​เพิ่ม​จำ�นวน​ขึ้น พร้อม​กับ​สัตว์​
จำ�พวก​แมลง​ต่างๆ ก็​จะเ​พิ่มจ​ ำ�นวนข​ ึ้น​เช่น​กัน และค​ วาม​สามารถใ​น​การร​ องรับป​ ระชากร​ที่​เปลี่ยนแปลง​นี้​จะ​
อยู่​ใน​ระดับ​ใกล้​เคียง​กับ​ความ​สามารถ​ใน​การ​รองรับ​ประชากร​ของ​สิ่ง​แวดล้อม​สูง​หรือ​ตํ่า​กว่า​ไม่​มาก​นัก ซึ่ง​
เรียกว​ ่า การ​ขึ้นๆ ลงๆ ของ​ประชากร (population fluctuation) ดังภ​ าพ​ที่ 3.27

                                              เวลา

                     ภาพท​ ี่ 3.27 กราฟ​แสดงล​ ักษณะ​การข​ นึ้ ๆ ลงๆ ของป​ ระชากร

       4.2 	 กราฟ​การ​เติบโต​ของ​ประชากร​เป็น​รูป​ตัว​อักษร J ใน​บาง​กรณี ประชากร​เติบโต​ขึ้น​จน​เกิน​กว่า​
ปริมาณ​ทรัพยากร​ที่​มี​อยู่​มาก​หรือ​เกิน​กว่า​ระดับ​ความ​สามารถ​ใน​การ​รองรับ​ประชากร​ของ​สิ่ง​แวดล้อม​มาก
เมื่อท​ รัพยากรข​ าดแคลนร​ วดเร็วห​ รือห​ มด ประชากรจ​ ะล​ ดข​ นาดล​ งท​ ันที ทำ�ใหก้​ ราฟก​ ารเ​ติบโตข​ องป​ ระชากรม​ ​ี
ลักษณะเ​ป็น​รูปต​ ัว​อักษร J ตัวอย่าง เช่น การ​ระบาด​ของต​ ั๊กแตนป​ าท​ ังก​ ้าใ​นช​ ่วง​ปลายฤ​ ดูฝ​ น​ขณะท​ ี่พ​ ืชผ​ ล​ของ​
ชาวไร่​กำ�ลัง​งอกงาม เมื่อต​ ั๊กแตน​ทำ�ลาย​พืช​ผล​หมด​เกิดก​ ารข​ าดแคลน​อาหาร ประชากร​ตั๊กแตน​จะล​ ด​ลงท​ ันที
เป็น​ลักษณะ​กราฟ​ดัง​ภาพ​ที่ 3.28
   62   63   64   65   66   67   68   69   70   71   72