Page 68 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 68
จำ�นวนสิ่งมีชีวิต3-58 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
เวลา
ภาพท่ี 3.28 กราฟการเติบโตข องป ระชากรเป็นรูปต วั อ ักษร J
ลักษณะก ารเติบโตข องป ระชากรร ูปอ ักษรต ัว J นี้ พบได้ม ากในพ ืชห รือส ัตว์ข นาดเล็ก และม ีอายุส ั้น
ทั่วไป เช่น เมื่อเข้าส ู่ฤ ดูฝ น หญ้าและว ัชพืชต่างๆ จะง อกงามเพิ่มจำ�นวนขึ้นอ ย่างร วดเร็ว แต่เมื่อส ิ้นส ุดฤดูฝน
เริ่มเข้าสู่ฤดูแล้ง นํ้าขาดแคลน หญ้าและวัชพืชเหล่านี้ก็จะตายลงเป็นจำ�นวนมากอย่างรวดเร็ว แต่ก็จะมีอยู่
จำ�นวนห นึ่งท ี่ร อดช ีวิตอยู่ได้ เพื่อท ี่จ ะเติบโตต ่อไปในฤดูฝ นที่จะมาถ ึงข้างห น้า
5. การรอดชวี ติ ของประชากร
ในการศึกษาเกี่ยวกับประชากร การเกิดและการตายจัดว่าเป็นสาเหตุสำ�คัญของการเปลี่ยนแปลง
ประชากร แต่สำ�หรับสิ่งมีชีวิตต่างๆ โดยทั่วไปมักจะมีอายุขัยและรูปแบบการเกิดและการตายในช่วงชีวิต
ต่างๆ กัน สัตว์ห รือพ ืชบางช นิดสามารถแพร่พ ันธุ์อ อกลูกห ลานได้ค รั้งล ะม ากๆ แต่โอกาสที่จ ะมีช ีวิตร อดจ น
สิ้นอ ายุขัยม ีน ้อย ในท างต รงก ันข ้าม สัตว์ห รือพ ืชห ลายช นิดม ีค วามสามารถในก ารแ พร่พ ันธุ์ต ํ่า แต่เมื่อเกิดม า
แล้วก ็ม ีโอกาสอ ยู่ร อดได้ม าก ดังน ั้น ถ้าศ ึกษาเปรียบเทียบค วามส ามารถในก ารแ พร่พ ันธุ์แ ละก ารอ ยู่ร อดข อง
สิ่งม ีชีวิตช นิดต่างๆ โดยน ำ�มาเขียนเป็นเส้นก ราฟจ ะพ บว ่า เราสามารถแ บ่งสิ่งม ีชีวิตออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ๆ
ตามลักษณะของก ราฟก ารรอดชีวิต ดังภ าพที่ 3.29
5.1 กราฟแบบเลนส์นูน ภายใต้สภาวะแวดล้อมที่เหมาะสม สัตว์หรือพืชที่มีลักษณะตามกราฟนี้
เมื่อเกิดมาแล้วส่วนใหญ่จะมีชีวิตอยู่รอดตลอดจนอายุขัย สิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตในวัยแรกเกิดและ
คงที่เมื่อโตขึ้น หลังจากนั้นอัตราการรอดชีวิตจะตํ่าเมื่อมีอายุมากขึ้น พืชและสัตว์หลายชนิดมีลักษณะการ
รอดชีวิตแบบน ี้ โดยเฉพาะสัตว์ขนาดใหญ่และส ัตว์เลี้ยงล ูกด้วยน ํ้านม ซึ่งมีพ ่อแ ม่เลี้ยงดูในว ัยอ ่อนที่ยังช่วย
เหลือต ัวเองไม่ได้ เช่น มนุษย์ ช้าง ม้า สุนัข เป็นต้น
5.2 กราฟแบบเส้นทแยงมุม ลักษณะกราฟแบบนี้แสดงให้เห็นว่า สิ่งมีชีวิตชนิดนี้เมื่อเกิดมาแล้ว
จะตายค่อนข้างอยู่ในอัตราที่คงที่ไม่ว่าจะมีอายุเท่าไร กล่าวคือ สิ่งมีชีวิตมีอัตราการรอดชีวิตเท่ากันในทุกๆ