Page 38 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 38
3-28 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
4.1.1 การหมุนเวียนระยะส้ัน คาร์บอนจะถูกแลกเปลี่ยนระหว่างสิ่งมีชีวิต พื้นดิน นํ้า และ
บรรยากาศของโลก โดยในอากาศ คาร์บอนจะอ ยู่ในร ูปของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ และจะล งสู่พื้นดินโดย
พืช ผ่านกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง คาร์บอนจะเป็นส่วนประกอบของสารอินทรีย์ในพืชซึ่งจะถูกส่งต่อ
มายังส ัตวท์ ีบ่ ริโภคพ ืชเป็นอ าหาร และผ ่านก ระบวนการใชพ้ ลังงานข องเซลลใ์นร ่างกาย จากน ั้นค าร์บอนจ ะถ ูก
ส่งก ลับส ูอ่ ากาศอ ีกค รั้งโดยก ารห ายใจอ อกห รือผ ่านท างผ ิวหนังข องส ัตว์ ส่วนในน ํ้า แก๊สค าร์บอนไดออกไซด์
ถจาูกกพอืชานกํ้าาตศ่าจงะๆละโดลยายเฉลพงสาะู่นพํ้าวบกาสงาสห่วรน่ายจเะซกลลลา์เยดเียปว็นนสำ�ามราปใรชะ้ในกกอบารไสบังคเคารร์บาะอหเน์ดต้วย(แHสCงOแล3—ะ) ถอูกีกสส่ง่วไนปยหังนสึ่งัตจวะ์
แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดจากปฏิกิริยาของเซลล์จะถูกปล่อยลงมาในนํ้าและกระจายกลับไปสู่อากาศ
อีกครั้ง
4.1.2 การหมุนเวียนระยะยาว สำ�หรับการหมุนเวียนในระยะยาวของคาร์บอน อาจกินเวลา
เป็นล้านปี เกิดขึ้นเมื่อพืชและสัตว์ตายลง ซากซึ่งทับถมรวมกันอยู่ใต้พื้นดินเป็นเวลานานประกอบกับ
ความกดดันของโลกทำ�ให้กลายสภาพเป็นเชื้อเพลิงจากซากดึกดำ�บรรพ์ (fossil fuel) ซึ่งประกอบด้วย
ถ่านหิน แก๊ส และนํ้ามัน เมื่อเราขุดเอาเชื้อเพลิงเหล่านี้มาใช้คาร์บอนไดออกไซด์ก็จะกลับสู่บรรยากาศอีก
ครั้ง คาร์บอนไดออกไซด์อีกส่วนหนึ่งซึ่งอยู่ในนํ้า ในรูปของคาร์บอเนตอาจจับตัวกับแร่ธาตุบางอย่าง เช่น
แกคารลเเปซลียี่ยมนแเกปิดลเงปท็นาสงาดร้าปนรภะูมกิศอาบสแตครล์ขเอซงียโมลคกาซรึ่ง์บออาจเนกตินเ(วCลaาCนOาน3เ)ปแ็นลละ้าตนกปตี หะกินอเหนลก่าลนาี้อยาเจปเ็นคหลินื่อปนูนตัวแลลงะสจู่พาื้นก
ดินถูกน ํ้าเซาะละลายสารประก อบไบคาร์บอเนตก ลับล งส ู่นํ้าอ ีก (ภาพที่ 3.17)
บ่อนํ้ามัน คาร์บอนได- การเผาไหม้
ออกไซด์ในอากาศ ผู้ย่อยสลาย
เรือบรรทุกนํ้ามัน ตกลงสู่พื้นโลก สารอินทรีย์
หินปูน
ถ่านหิน
หินปูน
ตะกอน CaCO3
สารอินทรีย์
ภาพท่ี 3.17 แสดงวฏั จกั รค ารบ์ อน
4.2 วัฏจักรของไนโตรเจน แตกต่างจากคาร์บอน เนื่องจากไนโตรเจนมีอยู่ในอากาศถึงร้อยละ
79 แต่สิ่งมีชีวิตที่สามารถนำ�ไนโตรเจนเหล่านี้ไปใช้มีเพียงพวกสาหร่ายสีเขียวแกมนํ้าเงินและจุลินทรีย์
บางชนิดเท่านั้น โดยพืชใช้ไนโตรเจนในรูปของสารประกอบไนเตรต (NO3—) และแอมโมเนียม (NH4+)