Page 34 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 34
3-24 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
อาหารว ่า ผู้ล ่า (predator) ส่วนสิ่งม ีช ีวิตท ี่ถ ูกล ่า เรียกว ่า เหยื่อ (prey) เช่น กบที่ก ินแ มลงเป็นอ าหาร กบเป็น
ผู้ล่า แมลงเป็นเหยื่อ แต่กบอาจจะถ ูกง ูกินเป็นอาหาร ในก รณีน ี้ก บจะเป็นเหยื่อในข ณะท ี่งูเป็นผ ู้ล่า ดังนั้นใน
ธรรมชาติสิ่งม ีช ีวิตช นิดห นึ่งๆ อาจมีบทบาทเป็นได้ท ั้งผ ู้ล ่าแ ละเหยื่อ
2) ภาวะปรสิต (parasitism) เป็นความส ัมพันธ์ที่สิ่งมีชีวิตอยู่ร่วมกันในลักษณะท ี่สิ่งมี
ชีวิตชนิดห นึ่งไปอ าศัยอ ยู่ก ับสิ่งม ีชีวิตอีกชนิดห นึ่ง ฝ่ายผู้ที่ไปอ าศัยอ ยู่จะเป็นผ ู้ได้ป ระโยชน์ เรียกว ่า ปรสิต
(parasite) ส่วนสิ่งมีชีวิตที่ปรสิตเข้าไปอาศัยและเป็นฝ่ายที่เสียประโยชน์เรียกว่า ผู้ถูกอาศัย (host) โดย
ปรสิตน ี้จ ะแบ่งอ อกเป็น 2 กลุ่ม คือ ปรสิตที่อ ยู่ภ ายนอก เช่น เห็บ เหา หมัด และปรสิตท ี่อยู่ภายในร่างกาย
เช่น พยาธิต ่างๆ ที่อยู่ในอวัยวะต ่างๆ ในร ่างกาย
3) ภาวะก ารแ กง่ แยง่ (competition) เป็นภ าวะท ี่เกิดจ ากก ารอ ยู่ร ่วมก ันข องส ิ่งม ีช ีวิต ใน
กรณีท ี่ป ัจจัยท ี่ใช้ในก ารด ำ�รงช ีวิตม ีป ริมาณไม่เพียงพ อแ ก่ค วามต ้องการข องส ิ่งม ีช ีวิตจ ึงเกิดก ารต ่อส ู้ แข่งขัน
ทำ�ลายก นั เพือ่ แ ย่งช งิ ป ัจจัยด งั ก ล่าว ซึง่ ก ารแ กง่ แย่งอ าจจ ะท ำ�ใหเ้ กดิ ก ารส ูญเสีย เจ็บต าย ดว้ ยก ันท ัง้ ส องฝ า่ ย
โดยการแก่งแย่งนี้อาจเกิดได้ท ั้งในสิ่งมีช ีวิตชนิดเดียวกันเองหรือต่างช นิดก ันก ็ได้ เช่น การแย่งพื้นที่ในการ
อยู่อาศัยของสัตว์ชนิดต ่างๆ
1.2.3 ความส มั พนั ธแ์ บบเปน็ กล าง ซึ่งในท างท ฤษฎีอ ธิบายว ่า เป็นค วามส ัมพันธท์ ีไ่ม่มอี ยู่จ ริง
ในธ รรมชาตหิ รืออ าจจ ะก ล่าวว ่าม ีค วามส ัมพันธ์ก ันแ ตไ่ม่เกี่ยวข้องก ันโดยตรงแ ต่ม ีค วามส ัมพันธก์ ันโดยอ ้อม
เช่น ความส ัมพันธ์ร ะหว่างไส้เดือนก ับส ิงโต กระต่ายก ับแบคทีเรีย เป็นต้น
2. ความส ัมพันธร์ ะหวา่ งส งิ่ มีชีวิตกับส ิง่ แ วดล้อมทางกายภาพ
สิ่งม ชี ีวิตในร ะบบน ิเวศน อกจากจ ะม คี วามส ัมพันธก์ ับส ิ่งม ชี ีวิตท ั้งช นิดเดียวกันแ ละต ่างช นิดก ันแ ล้ว
สิ่งม ีช ีวิตย ังม ีค วามส ัมพันธ์ก ับส ิ่งแ วดล้อมท างก ายภาพ ได้แก่ แสงส ว่าง อุณหภูมิ แร่ธ าตุแ ละแ ก๊ส และค วาม
เป็นกรดเป็นเบสข องดินแ ละนํ้า ซึ่งม ีผ ลต่อจ ำ�นวน ชนิด การดำ�รงช ีวิต การกร ะจ าย รวมท ั้งพฤติกรรมอื่นๆ
ของสิ่งม ีช ีวิตในร ะบบน ิเวศอีกด้วย
2.1 แสงสว่าง แสงจากดวงอาทิตย์เป็นพลังงานที่มีอิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิตทุกชนิดบนโลก แสงมี
อิทธิพลต่อการดำ�รงชีวิตและพฤติกรรมต่างๆ ของสิ่งมีชีวิต เนื่องจากความเข้มแสงในธรรมชาติแต่ละแห่ง
มีความแตกต่างกัน และความต้องการแสงของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกัน ทำ�ให้สิ่งมีชีวิต
ในแต่ละแห่งมีความแตกต่างกันทั้งในด้านชนิดและปริมาณ สำ�หรับพืชพลังงานแสงจะใช้สำ�หรับการสร้าง
สารอาหารในกระบวนการส ังเคราะห์ด้วยแ สง สารอ าหารท ี่ส ร้างขึ้นจ ะถูกถ ่ายทอดไปย ังส ัตว์ชนิดต่างๆ ผ่าน
โซ่อาหาร ในบ ริเวณที่มีแสงส่องถ ึงม ากจ ะพ บว ่าพ ืชจะอยู่กันอย่างห นาแ น่นม ากกว่าบ ริเวณที่แ สงส ่องถึงน้อย
นอกจากน ี้แสงย ังม ีผลต่อพฤติกรรมบ างอย่างในพ ืชบางชนิด เช่น การบ านแ ละห ุบของดอกบ านเช้า และด อก
บานเย็น การออกดอกของข้าวบางสายพันธุ์ที่ออกดอกในเดือนที่มีความยาวของกลางวันสั้นกว่ากลางคืน
เป็นต้น สำ�หรับอิทธิพลของแ สงต่อการดำ�รงช ีวิตข องส ัตว์น ั้น เช่น พฤติกรรมก ารล่าเหยื่อหรือออกห าอ าหาร
ของส ัตว์แต่ละช นิด สัตว์ที่ออกหาอาหารต อนก ลางค ืน เช่น นกเค้าแมว ค้างคาว เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบว่า
แสงมีอิทธิพลต่อก ารสืบพันธุ์ข องสัตว์ เช่น หิ่งห้อย ที่จ ะมีอ ัตราก ารผ สมพันธุ์ได้มากข ึ้นในท ี่มีแสงส ว่างน ้อย