Page 31 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 31

ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3-21

            3.2.2 	สาร​อินทรีย์ (organic substance) ได้แก่ สาร​อินทรีย์​ที่​จำ�เป็น​ต่อ​การ​ดำ�รง​ชีวิต เช่น
โปรตีน คาร์โบไฮเดรต ไขม​ ัน และฮ​ ิวมัส เป็นต้น

            3.2.3 	องคป​์ ระกอบท​ างก​ ายภาพ ได้แก่ ปัจจยั ท​ างส​ ภาพภ​ ูมอิ​ ากาศ ทมี่​ อ​ี ทิ ธิพลต​ ่อก​ ารด​ �ำ รงช​ ีพ​
ของส​ ิ่ง​มีช​ ีวิต เช่น อุณหภูมิ แสง ความชื้น พื้นผ​ ิวท​ ี่อ​ าศัย ความเ​ค็ม กระแสล​ ม และ​กระแส​นํ้า เป็นต้น

             หลังจ​ ากศ​ ึกษา​เนื้อหา​สาระเ​รื่อง​ที่ 3.1.2 แล้ว โปรด​ปฏิบัติก​ ิจกรรม 3.1.2
                      ในแ​ นว​การ​ศึกษาห​ น่วยท​ ี่ 3 ตอนท​ ี่ 3.1 เรื่อง​ที่ 3.1.2

เรือ่ งท​ ี่ 3.1.3 	ความส​ มั พนั ธแ​์ ละ​การ​หมนุ เวยี น​สาร​ในร​ ะบบ​นเิ วศ

       สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​อยู่​ใน​ระบบ​นิเวศ​ทั้ง​ขนาด​เล็ก​และ​ขนาด​ใหญ่​จะ​ไม่​อาศัย​อย่าง​โดด​เดี่ยว​โดย​ไม่มี​ความ​
สัมพันธ์​กับ​สิ่ง​มี​ชีวิต​อื่น​และ​สิ่ง​ไม่มีช​ ีวิต​ที่​อยู่​ใน​ระบบ​นิเวศเ​ดียวกัน ซึ่ง​ความส​ ัมพันธ์​อาจเ​ป็น​ความส​ ัมพันธ์​
ทาง​ตรง​หรือ​ทาง​อ้อม​ก็ได้ นอกจาก​นี้​  ใน​ระบบ​นิเวศ​จะ​ต้อง​มี​การ​หมุนเวียน​สาร​ต่างๆ ผ่าน​สิ่ง​ที่​มี​ชีวิต​และ
​สิ่ง​ที่ไ​ม่มีช​ ีวิต มีก​ ารถ​ ่ายทอด​พลังงาน เพื่อใ​ห้เ​กิดส​ มดุลใ​น​ระบบบ​ นิเวศ ดัง​นั้นใ​นเ​รื่อง​นี้จ​ ะข​ อก​ ล่าว​ถึง ความ​
สมั พนั ธร​์ ะหวา่ งส​ ิง่ ม​ ช​ี วี ติ ก​ บั ส​ ิง่ ม​ ช​ี วี ติ ความส​ มั พนั ธร​์ ะหวา่ งส​ ิง่ ม​ ช​ี วี ติ ก​ บั ส​ ิง่ แ​ วดลอ้ มท​ างก​ ายภาพ การถ​ า่ ยทอด​
พลังงาน และ​วัฏจักรข​ อง​สารต​ ่างๆ ในร​ ะบบ​นิเวศ

1. 	ความส​ มั พันธ์​ระหวา่ ง​สิ่ง​ม​ชี วี ิต​ในร​ ะบบ​นเิ วศ

       ความส​ ัมพันธ์​ระหว่าง​สิ่งม​ ี​ชีวิตก​ ับ​สิ่งม​ ี​ชีวิต​ภายใน​ระบบ​นิเวศ สามารถ​แบ่งอ​ อก​เป็น 2 ลักษณะ คือ
ความส​ ัมพันธ์​ระหว่าง​สิ่ง​มีช​ ีวิต​ชนิดเ​ดียวกัน​ และ​ความ​สัมพันธ์​ระหว่าง​สิ่ง​มี​ชีวิตต​ ่างช​ นิด​กัน

       1.1		ความส​ มั พนั ธร​์ ะหวา่ งส​ งิ่ ม​ ช​ี วี ติ ช​ นดิ เ​ดยี วกนั (intraspecies relationship) สิง่ ม​ ช​ี วี ติ ช​ นดิ เ​ดยี วกนั ​
ทุก​ชนิด​ทั้งพ​ ืช สัตว์ หรือ จุลินทรีย์ โดยม​ าก​จะ​มีก​ ารอ​ ยู่​รวมก​ ัน​เป็นกล​ ุ่ม​ทั้ง​ขนาด​เล็ก​และข​ นาดใ​หญ่ สำ�หรับ​
สิ่งม​ ชี​ ีวิตท​ ีอ่​ ยูอ่​ ย่างอ​ ิสระน​ ั้นค​ ่อนข​ ้างห​ าย​ ากใ​นร​ ะบบน​ ิเวศ ในก​ ารอ​ ยูร่​ ่วมก​ ันข​ องส​ ิ่งม​ ชี​ ีวิตแ​ ต่ละช​ นิดท​ ำ�ใหเ้​กิด​
ความส​ ัมพันธ์​ใน​ลักษณะข​ องก​ าร​ติดต่อส​ ื่อสาร​และ​การ​จัด​ลำ�ดับ​ชั้นข​ องส​ ังคม (social hierarchy) เช่น สัตว​์
ที่อ​ ยู่ก​ ันเ​ป็นกล​ ุ่มห​ รือฝ​ ูง สมาชิกใ​นก​ ลุ่มแ​ ต่ละต​ ัวย​ ่อมต​ ้องม​ ีบ​ ทบาทแ​ ละห​ น้าที่โ​ดยเ​ฉพาะ​ ภายในฝ​ ูงจ​ ะม​ ีผ​ ู้นำ�​
ฝูง​ซึ่งเ​ป็นต​ ำ�แหน่ง​สูงสุด สัตว์​ที่ม​ ีก​ ารจ​ ัด​ลำ�ดับช​ ั้น​ของ​สังคม เช่น ผึ้ง ปลวก มด ลิง เป็นต้น ใน​การ​อยู่​ร่วมก​ ัน​
ของส​ ิง่ ม​ ชี​ วี ิตช​ นิดเ​ดียวกนั น​ ตี้​ ้องอ​ ยใู​่ นช​ ่วงพ​ อดี ถา้ ม​ ากห​ รือน​ อ้ ยเ​กนิ ไ​ปก​ จ็​ ะเ​กิดผ​ ลกร​ ะท​ บต​ ่อส​ ิ่งม​ ช​ี ีวิตน​ ัน้ เชน่
ข้อดี​ของก​ ารอ​ ยู่ร​ ่วมก​ ัน คือ สร้าง​ความ​เข้มแ​ ข็ง​และค​ วามป​ ลอดภัย​ในก​ ลุ่ม แต่ถ​ ้า​มา​อยู่​รวมก​ ันแ​ ล้ว​มี​สมาชิก​
จำ�นวน​มาก สมาชิก​ใน​แต่ละ​ตัว​ใน​ฝูง​ก็​ย่อม​มี​แบบแผน​และ​ปัจจัย​ของ​การ​ดำ�รง​ชีพ​แบบ​เดียวกัน ก่อ​ให้​เกิด
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36