Page 30 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 30

3-20 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์

3. 	องค์​ประกอบ​ของร​ ะบบ​นิเวศ

       ระบบน​ ิเวศห​ นึ่งๆ จะ​ประกอบไ​ป​ด้วย​สิ่งม​ ี​ชีวิตต​ ่างๆ ที่​อาศัย​อยู่ร​ ่วม​กัน และม​ ี​ความส​ ัมพันธ์​ต่อก​ ัน​
ใน​รูป​แบบ​ต่างๆ เช่น เป็นอ​ าหาร เป็น​ที่อ​ ยู่อ​ าศัย หรือช​ ่วย​ใน​การ​แพร่​พันธุ์ การท​ ี่ส​ ิ่ง​มี​ชีวิต​ต่างๆ จะด​ ำ�รง​อยู​่
ได้​ต้อง​อาศัย​สิ่ง​แวดล้อม​ซึ่ง​ไม่มี​ชีวิต เช่น พลังงาน แร่​ธาตุ อุณหภูมิ ความ​ร้อน ดัง​นั้น ระบบ​นิเวศ​จึง​ต้อง​
อาศัย​ความ​สมดุลข​ องค​ วาม​สัมพันธ์เ​หล่า​นี้ องค์ป​ ระกอบข​ อง​ระบบน​ ิเวศ ประกอบ​ด้วย 2 หน่วย​ใหญ่ๆ คือ
องค์ป​ ระกอบ​ที่​มี​ชีวิต (biotic components) และอ​ งค์​ประกอบท​ ี่​ไม่มีช​ ีวิต (abiotic components)

       3.1 	 องคป​์ ระกอบ​ทม​่ี ช​ี วี ติ หมายถ​ ึง องค์ป​ ระกอบ​ทางช​ ีวภาพซ​ ึ่งป​ ระกอบด​ ้วยส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตต​ ่างๆ อยู่ร​ ่วม​
กัน​อย่างเ​ป็น​ระบบ แบ่งอ​ อกไ​ด้เ​ป็น 3 กลุ่ม​ใหญ่ ดังนี้

            3.1.1 	ผูผ้​ ลิต (producer หรอื autotrophic organism) เป็นก​ลุ่ม​สิ่งม​ ีช​ ีวิต​ที่​สามารถ​สร้าง​อาหาร​
ได้​ด้วย​ตัว​เอง​จาก​สา​รอ​นิ​นท​รีย์ โดย​อาศัย​คลอ​โร​ฟิลล์​เป็น​รงควัตถุ ที่​สามารถ​ตรึง​พลังงาน​จาก​ดวง​อาทิตย์​
เปลี่ยนแปลง​สาร​ที่​รับ​เข้า​มา​ใน​รูป​สา​รอ​นิ​นท​รีย์​ให้​กลาย​เป็น​สาร​อินทรีย์ เรียก​กระบวนการ​ดัง​กล่าว​ว่า
กระบวนการส​ ังเคราะหด์​ ้วยแ​ สง นอกจากพ​ ืชแ​ ล้วส​ ิ่งม​ ชี​ ีวิตอ​ ื่นท​ ีส่​ ามารถท​ ำ�​หน้าทีเ่​ป็นผ​ ูผ้​ ลิตไ​ด้ ได้แก่ สาหร่าย​
เซลล์เ​ดียว

            3.1.2 	ผู้​บริโภค (consumer หรือ heterotrophic organism) เป็น​สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​ไม่​สามารถ​สร้าง​
อาหารไ​ด้เ​อง จำ�เป็นต​ ้องไ​ด้ส​ ารอ​ าหารแ​ ละพ​ ลังงานจ​ ากก​ ารก​ ินส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิตอ​ ื่น ซึ่งส​ ามารถแ​ บ่งก​ ลุ่มข​ องผ​ ู้บ​ ริโภค​
ตาม​ลักษณะ​ของก​ าร​กิน​ได้​เป็น 4 กลุ่ม ดังนี้

                1) 	ผู้​บริโภค​ท่ก​ี นิ ​พชื ​เป็นอ​ าหาร​อยา่ งเ​ดียว (herbivore) จัดเ​ป็นผ​ ู้บ​ ริโภคล​ ำ�ดับ​ที่ 1 (pri-
mary consumer) เช่น ช้าง ม้า วัว ควาย หนอน นก และ​ปลาบ​ าง​ชนิด เป็นต้น

                2) 	ผู้​บริโภค​ที่​กิน​เน้ือ​สัตว์​เป็น​อาหาร​อย่าง​เดียว (carnivore) จัด​เป็น​ผู้​บริโภค​ลำ�ดับ​ที่ 2
(secondary consumer) เช่น กบ งู จระเข้ เสือ หมาป่า สิงโต เหยี่ยว เป็นต้น

                3) 	ผูบ้​ ริโภคท​ ่​กี ิน​ทง้ั พ​ ืชแ​ ละเ​นือ้ ส​ ตั วเ​์ ป็น​อาหาร (omnivore) จัดเ​ป็นผ​ ู้บ​ ริโภคล​ ำ�ดับ​ที่ 3
(tertiary consumer) เช่น มนุษย์ แมว สุนัข เป็นต้น

                4) 	ผู้​บริโภค​ที่​กิน​ซาก​พืช​ซาก​สัตว์​เป็น​อาหาร (scavenger) หรือผู้​บริโภค​เศษ​อินทรีย์
(detritivore) จัดเ​ป็นผ​ ู้บ​ ริโภคล​ ำ�ดับ​สุดท้าย ได้แก่ แร้ง ไส้เดือน กิ้งกือ จัด​เป็นก​ลุ่มส​ ิ่งม​ ีช​ ีวิต​ที่​กินซ​ ากส​ ิ่ง​ที​่
ตาย​แล้ว​ให้เ​ป็น​ชิ้น​เล็กๆ เพื่อ​ให้ผ​ ู้ย​ ่อย​สลายย​ ่อยส​ ลายต​ ่อ​ไป

            3.1.3 	ผู้​ย่อย​สลาย​อินทรีย์ส​ าร (decomposer หรือ saprotroph) ได้แก่ สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​สร้างอ​ าหาร​
เอง​ไม่​ได้ ทำ�​หน้าที่​ย่อย​สลาย​ซาก​ของ​สิ่ง​มี​ชีวิต​ที่​ตาย​แล้ว​และ​เศษ​อินทรีย์​ต่างๆ ใน​รูป​ของ​สารประกอบ​
โมเลกุล​ใหญ่ จน​กลายเ​ป็นส​ ารประกอบ​โมเลกุลเ​ล็กใ​น​รูป​ของ​สาร​อาหารเ​พื่อใ​ห้ผ​ ู้​ผลิตน​ ำ�​ไป​ใช้​ใหม่ เช่น เห็ด
รา เป็นต้น

       3.2 	 องคป​์ ระกอบท​ ไ​่ี มม่ ช​ี วี ติ สิ่งไ​ม่มชี​ ีวิตต​ ่างๆ จัดเ​ป็นอ​ งคป์​ ระกอบท​ ีส่​ ำ�คัญท​ ีท่​ ำ�ใหร้​ ะบบน​ ิเวศด​ ำ�รง​
อยู่ไ​ด้ องค์​ประกอบท​ ี่ไ​ม่มีช​ ีวิตเ​หล่าน​ ี้ ได้แก่

            3.2.1 	สา​รอ​นิ​นท​รีย์ (inorganic substance) ประกอบ​ด้วย แร่​ธาตุ​และ​สา​รอ​นิ​นท​รีย์​ที่​เป็น​
องค์​ประกอบ​สำ�คัญ​ของ​เซลล์​สิ่ง​มี​ชีวิต เช่น คาร์บอน ออกซิเจน ไนโตรเจน คาร์บอนไดออกไซด์ และ​นํ้า
เป็นต้น สารต​ ่างๆ เหล่า​นี้ มี​การ​หมุนเวียน​ใช้​ในร​ ะบบน​ ิเวศเ​ป็นว​ ัฏจักร เรียก​ว่า biogeochemical cycle
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35