Page 32 - การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
P. 32
3-22 การจัดประสบการณ์การเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ข้อเสียในด้านปัจจัยที่ใช้ในการดำ�รงชีวิตได้ อาจเกิดการแก่งแย่งอาหาร เกิดการแข่งขันและการแย่งชิงการ
เป็นจ ่าฝูง ทำ�ให้มีผ ลกระทบต ่ออ ัตราการอยู่รอด
1.2 ความส มั พนั ธร์ ะหวา่ งส ง่ิ ม ชี วี ติ ต า่ งช นดิ ก นั (interspecies relationship) สิ่งม ชี ีวิตท ุกช นิดท ีเ่กิด
ขึ้นในโลกม ีค วามส ัมพันธ์ซ ึ่งก ันแ ละก ันในแ ง่ก ารถ ่ายทอดพ ลังงานแ ละม วลสาร หรือก ารได้ร ับป ระโยชน์ห รือ
เสียป ระโยชน์ ในก ารดำ�รงชีวิตเมื่อม าอ ยู่ร ่วมก ัน มีท ั้งได้ป ระโยชน์แ ละเสียป ระโยชน์ในฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง หรือ
ทั้งส องฝ ่ายก ็ไดป้ ระโยชนใ์นก ารอ ยูร่ ่วมก ัน โดยค วามส ัมพันธเ์หล่าน ีอ้ าจเป็นค วามส ัมพันธช์ ั่วคราวห รือค วาม
สัมพันธ์แบบอ ยู่ร ่วมกันต ลอดเวลา การอยู่ร่วมก ันของสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันแ บ่งเป็น 3 ลักษณะ ดังนี้
1.2.1 การเกอื้ กลู ส นบั สนนุ ซ งึ่ ก นั แ ละก นั (symbiosis) เป็นค วามส ัมพันธท์ ีส่ ิ่งม ชี ีวิต 2 ชนิดม า
อาศัยอ ยูร่ ่วมก ันแ ล้วไดป้ ระโยชนท์ ั้งส องฝ ่าย หรือม ฝี ่ายใดฝ ่ายห นึ่งไดป้ ระโยชนแ์ ตอ่ ีกฝ ่ายก ไ็มเ่สียป ระโยชน์
สามารถแบ่งออกเป็นความส ัมพันธ์ย่อยๆ ได้ 2 รูปแบบ คือ ภาวะพึ่งพา และภ าวะเกื้อกูล
1) ภาวะพ ่งึ พา เป็นรูปแ บบที่ได้ป ระโยชน์ร ่วมก ัน (ภาพที่ 13.3) แบ่งออกเป็น 2 แบบ
ดังนี้
(1) ภาวะพ่ึงพาแบบถาวร (mutualism) เป็นการอยู่ร่วมกันตลอดช ีวิต แยกจาก
กันไม่ได้ ถ้าแยกจากกันฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งหรือทั้งสองฝ่ายจะเสียประโยชน์ซึ่งอาจจะส่งผลให้มีการเสียชีวิตได้
เช่น ปลวกกับโพรโทซัว ไลเคนส์ (lichens) และแบคทเี รยี ไรโซเบียม (Rhizobium) ในปมร ากถ่วั
(2) ภาวะพ่ึงพาแบบชั่วคราว (protocooperation) เป็นการอยู่ร่วมกันของสิ่งมี
ชีวิตส องชนิด ในชว่ งเวลาส นั้ ๆ และไดป้ ระโยชน์รว่ มกัน แต่ไม่จ �ำ เปน็ ต อ้ งอ ยดู่ ้วยกันเสมอไป ถึงจะแยกกันอยู่
ก็สามารถดำ�เนนิ ชีวติ ไดอ้ ย่างปกติ เชน่ ดอกไมท้ ะเล (sea anemone) กับปูเสฉวน นกเอี้ยงกับควาย ดอกไม้
กับแมลง มดกับเพลยี้ เป็นต้น
ก. ข.
ภาพท่ี 3.13 ภาพแสดงความส มั พนั ธแ์ บบไ ดป้ ระโยชนร์ ว่ มกนั
ก. ภาวะพึง่ พาแบบถาวรของแ บคทเี รยี ไ รโซเบยี มในป มรากถั่ว
ข. ภาวะพงึ่ พาแบบชั่วคราวของม ดกับเพลี้ย