Page 73 - สารัตถะและวิทยวิธีทางภาษาอังกฤษ
P. 73
กลวิธีการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ 5-63
เรอ่ื งที่ 5.2.4 การเรียนก ารสอนท กั ษะการฟัง
สิ่งสำ�คญั ท่คี วรพจิ ารณาในการเรียนก ารสอนทักษะการฟ ัง
ในการเรียนภาษาต่างประเทศผู้เรียนจะต้องฝึกฟังให้จับเสียงได้เพื่อจะได้เป็นแบบอย่างใน
การพ ูด และในข ณะเดียวกันต ้องท ำ�ความเข้าใจก ับค วามห มายข องค ำ�หรือป ระโยคท ี่ต นได้ยินเพื่อเป็น
ประโยชน์ในก ารจับใจค วาม ดังนั้นก ารเรียนการส อนท ักษะการฟ ังจ ึงห มายถ ึงการฝึกให้ผู้เรียนฟ ังบ ท
เรียนที่ม ีเนื้อหาเกี่ยวกับเสียง คำ�ศัพท์ และไวยากรณ์ที่ก ำ�ลังเรียนอยู่ หรือเคยเรียนม าแล้วโดยใช้ก าร
พูดเป็นต วั กลางในก ารฝ ึกเนือ้ หาท างภ าษา ซึง่ เท่ากับเป็นการย อมรับว า่ ใหผ้ ูเ้ รียนฟ ังเนือ้ หาท กุ ต อนก ่อน
เพื่อเป็นบ ทนำ� เพราะก ารเรียนจ ะต ้องฟ ังไปพ ูดไป ถ้าข าดก ารฟ ังก ็ย ่อมจ ะพ ูดไม่ได้ ดังน ั้นก ารเรียนก าร
สอนท ักษะก ารฟ ังจ ึงจ ำ�แนกอ อกเป็น 2 ประการ ได้แก่ การส อนก ารฟ ังแ ละก ารอ อกเสียง และก ารส อน
การฟังเพื่อความเข้าใจ (สำ�นักงานทดสอบทางการศึกษา กรมว ิชาการ 2537) ซึ่งสรุปได้ดังนี้
1. การส อนก ารฟ งั แ ละก ารอ อกเสยี ง หมายถ งึ การฝ กึ ใหผ้ เู้ รยี นฟ งั เสยี งแ ละส �ำ เนยี งท ถี่ กู ต อ้ ง
ของค ำ�หรือกลุ่มค ำ�รวมท ั้งป ระโยค จุดป ระสงค์ในการฝึกฟ ังค ือ เพื่อให้ผู้เรียนจำ�เป็นแบบในก ารที่จะ
พูดต่อไป ซึ่งจ ำ�เป็นต ้องให้ผู้เรียนฝึกซํ้าๆ บ่อยๆ จนส ามารถจับเสียงและสำ�เนียงข องค ำ�หรือประโยค
ได้ถ ูกต ้อง ดังน ั้นในก ารจ ัดการเรียนการสอนต ้องให้ผ ู้เรียนฟังและพูดค วบคู่ก ันไป จึงต้องจ ำ�แนกก าร
เรียนการส อนออกเป็น 2 ตอน คือ
1.1 การสอนเสียงสระและพ ยัญชนะท ี่เป็นปัญหาสำ�หรับค นไทย เช่น /g/ /v/ /z/ หรือ
เพี้ยนเสียงไปจ ากภ าษาไทย เช่น /r/ และเสียงท ีป่ รากฏในต ำ�แหน่งท ีต่ ่างก ัน เช่น ในภ าษาไทยไม่มเีสียง
/l/ และ /s/ ในตำ�แหน่งข้างท ้ายข องสระ
1.2 การส อนเสยี งห นกั เบา ระดบั เสยี งส งู ต ํา่ ในป ระโยค จงั หวะ และก ารเวน้ ว รรคต อนจ ะ
ต้องท ำ�ไปพ ร้อมก ับการส อนค ำ�และประโยค ทั้งนี้ค วรแ สดงเครื่องหมายเสียงเน้นห นักในคำ�ด้วย เช่น
เดียวก ับที่ป รากฏในพ จนานุกรม เพื่อให้ผ ู้เรียนได้เรียนท ีล ะน ้อยและเกิดความแม่นยำ�ตั้งแต่ต ้น
2. การสอนการฟังเพ่ือความเข้าใจ อาจจะสอนไปพร้อมๆ กับการฝึกพูดหรือฝึกอ่านได้
แบบฝึกอาจจะทำ�เป็นรูปประโยคหรือเป็นข้อความสั้นๆ ผู้สอนจะพูดประโยคหรือข้อความนั้นด้วย
ความเร็วปกติหรือให้ผู้เรียนฟังแถบบันทึกเสียง อาจเป็นการถาม-ตอบปากเปล่า หรือเป็นการถาม
ตอบในแบบฝ ึกหัด
ในก ารเรียนการส อนท ักษะก ารฟ ังน ั้นผ ู้เรียนควรเข้าใจแ ละส ามารถวิเคราะห์ข้อมูลได้ ควรจ ัด
บทเรียนให้สัมพันธ์กับทักษะอื่นและมีความหลากหลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้ฝึกกลวิธีการฟังหลายแบบ
เช่น ฟังเพื่อจับใจค วามส ำ�คัญ (main ideas) และใจความสนับสนุน (supporting details) ฟังเพื่อ