Page 26 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 26

8-16 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา

แทรกส​ ามารถไ​ด้ยิน​ได้เ​มื่อ​ออก​เสียง​ตัว [ts] หรือ [dz] เป็นต้น สำ�หรับ​เสียงข​ ้าง​ลิ้น​จะป​ รากฏ​เมื่ออ​ อก​เสียง​
ตัว [l] ในส​ ่วน​ของ​เสียงร​ ัวจ​ ะ​ได้ยินเ​มื่ออ​ อก​เสียง​ตัว [r] เช่นเ​ดียวกัน​กับเ​สียง​กระทบ​ที่จ​ ะไ​ด้ยินเ​มื่ออ​ อกเ​สียง​
ตัว [r] เช่น​เดียวกัน และส​ ำ�หรับเ​สียง​เปิดจ​ ะไ​ด้ยินเ​มื่อ​ออกเ​สียงต​ ัว [w, j]

            2.2		สัท​วิทยา (Phonology) คือ การ​ศึกษา​ระบบ​และ​หน้าที่​ของ​เสียง​พูด​ใน​ภาษา​ใด​ภาษา​
หนึ่ง

            2.3		วิทยา​หน่วย​คำ�  (Morphology) หรือ​การ​ศึกษา​โครงสร้าง​ของ​คำ�  ซึ่ง​นัก​ภาษาศาสตร์​จะ​
ศึกษา​กระทั่ง​หน่วย​ที่​เล็กท​ ี่สุดข​ อง​ภาษา หรือ​ที่​เรียก​ว่า morpheme ว่าแ​ ต่ละภ​ าษา​มี​วิธีก​ าร​สร้าง​คำ�​แต่ละค​ ำ�​
ขึ้น​มาไ​ด้​อย่างไร เช่น การป​ ระสมค​ ำ� (เช่น video + tape = videotape) หรือก​ าร​แปลง​คำ� (เช่น จาก buy
กลาย​เป็น bought) เป็นต้น

            2.4		วากยสัมพันธ์ (Syntax) หรือ​การศ​ ึกษา​โครงสร้างค​ วาม​สัมพันธ์​ทางไ​วยากรณ์ข​ องภ​ าษา
ว่าการ​จะ​ทำ�ให้​เกิด​ประโยค​ที่​สม​บรูณ์​หนึ่ง​ประโยค​ทำ�ได้​อย่างไร จึง​จำ�เป็น​ต้อง​ศึกษา​กฎ​และ​โครงสร้าง​ทาง​
ไวยากรณ์ เนื่องจาก​ประโยค​ไม่​ได้​เกิด​ขึ้น​จาก​การ​ร้อย​เรียง​คำ�​ติดๆ กัน​เท่านั้น แต่​เกิด​จาก​โครงสร้าง​ทาง​
ไวยากรณ์ข​ องภ​ าษา​ที่ซ​ ับซ​ ้อน

            2.5		อรรถ​ศาสตร์ (Semantics) หรือ​การ​ศึกษา​ความ​หมาย​ของ​คำ� หรือ​อภิธาน​คำ�​ศัพท์ มุ่ง​
เน้น​ศึกษาค​ วาม​หมาย​ของ​คำ� โดย​มอง​ว่า​ความห​ มาย​มี​ความ​เชื่อม​โยง​สัมพันธ์ก​ ัน​กับ​คำ� วลี และ​สัญลักษณ​์
ต่างๆ นัก​ภาษาศาสตร์​จะ​มุ่ง​ตีความ​ความ​หมาย​ที่​ปรากฏ​อยู่​บน​สัญลักษณ์​หรือ​คำ�​นั้นๆ ทั้ง​ความ​หมาย​ตรง​
และ​ความห​ มายแ​ ฝง ดังน​ ั้นน​ ักภ​ าษาศาสตร์ท​ ี่ศ​ ึกษา​อรรถศ​ าสตร์​จึงค​ ำ�นึง​ถึง​บริบท​ที่​แวดล้อมผ​ ู้พ​ ูดแ​ ละผ​ ู้​ฟัง

       3. 	 ภาษาศาสตร์​เชิง​ประยุกต์ (Applied linguistics) คือ​การนำ�​เอา​ภาษาศาสตร์ไ​ป​ประยุกต์ใ​ช้​กับ​
การเ​รยี นก​ ารส​ อนว​ ชิ าใ​นส​ าข​ าอ​ ืน่ ๆ เชน่ จติ วทิ ยา มนษุ ยศาสตรแ​์ ละส​ งั คมศาสตร์ เปน็ ตน้ ภาษาศาสตรป​์ ระเภท​
นี้ม​ ีค​ วาม​เป็นว​ ิทยาศาสตร์​สูง​และ​สามารถน​ ำ�​ไป​ปฏิบัติ​ได้​จริง จึงท​ ำ�ให้​มี​ผู้​เรียน​ภาษาศาสตร์​เชิง​ประยุกต์เ​ป็น​
จำ�นวน​มาก ตัวอย่าง​ของ​การ​ศึกษา​ที่​สามารถ​ใน​ไป​ปฏิบัติ​ใช้ได้​จริง เช่น การ​ศึกษา​ถึง​พัฒนาการ​การ​พูด​ของ​
เด็ก​เล็ก การ​ร่าง​กฎหมาย​ลิขสิทธิ์ หรือก​ ารไ​ต่สวนใ​น​ชั้น​ศาล เป็นต้น

       4. 	 ภาษาศาสตรเ์​ปรยี บเ​ทยี บ (Comparative linguistics) คอื การศ​ กึ ษาถ​ งึ ค​ วามส​ มั พนั ธห์​ รอื ค​ วาม​
เชื่อม​โยงร​ ะหว่าง​ภาษา​ต่างๆ ว่า​มีร​ ากภ​ าษาจ​ ากท​ ี่เ​ดียวกันห​ รือ​ไม่ อย่างไร

       5. ภาษาศาสตรเ​์ ชิงป​ ระวตั ิศาสตร์ เป็นการศ​ กึ ษาป​ ระวตั ิศาสตรข​์ องภ​ าษาใ​ดภ​ าษาห​ นึง่ ว่าม​ พี​ ฒั นาการ​
และก​ ารเ​ปลี่ยนแปลงอ​ ย่างไร​บ้าง

       6. 	 ภาษาศาสตร์​ชาติพันธุ์ (Ethnolinguistics) คือการ​ศึกษา​ภาษา​ของ​กลุ่ม​คน​เชื้อ​ชาติ​ใด​เชื้อ​ชาติ​
หนึ่งท​ ี่ส​ ะท้อนถ​ ึงป​ ระเพณี วัฒนธรรม และค​ วามเ​ชื่อข​ องค​ นก​ ลุ่มน​ ั้น โดยน​ ักภ​ าษาศาสตรท์​ ี่ศ​ ึกษาภ​ าษาศาสตร​์
ชาติพันธุ์จ​ ะม​ อง​ว่า​ภาษาเ​ป็น​เครื่องม​ ือท​ ี่ใ​ช้ใ​น​การ​ถ่ายทอด​อัต​ลักษณ์​ของก​ ลุ่ม​คนแ​ ต่ละ​กลุ่ม

       7. 	 ภาษาศาสตร์​การ​ศึกษา (Educational linguistics) คือ​การนำ�​ภาษาศาสตร์​ไป​ใช้​ใน​การ​เรียน
​การส​ อนภ​ าษา
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30