Page 25 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 25
ภาษาและภาษาศาสตร์ 8-15
เป็นระบบของสัญญะ ดังนั้นภาษาศาสตร์จึงเป็นส่วนหนึ่งของสัญวิทยา และเมื่อต้องวิเคราะห์สัญญะ นัก
ภาษาศาสตร์จ ึงควรศ ึกษาร ะบบสัญญะ นั่นหมายถึงต ้องศ ึกษาสัญญะตัวอื่นๆ ที่อ ยู่แวดล้อมด ้วย เนื่องจ าก
สัญญะไม่สามารถนำ�มาวิเคราะห์หรือศ ึกษาเพียงโดดๆ ได้ โซซ ูร์เห็นว ่าน ักภาษาศาสตร์ควรศึกษาภาษาตาม
ความจ ริงมากกว่าการศึกษาถึงข้อก ำ�หนดกฎเกณฑ์ว่าค วรใช้ภาษาอ ย่างไรให้ถูกต้อง
งานข องโซซ รู ย์ งั ไดเ้ ปดิ พ ืน้ ทใี่ หก้ บั ก ารศ กึ ษาภ าษาในแ ขน งอ ืน่ ๆ อกี ม ากมาย โดยเริม่ ต น้ ท ภี่ าษาศาสตร์
ไวยากรณ์โครงสร้าง นักภาษาศาสตร์คนสำ�คัญในกลุ่มนี้คือ เอ็ดเวิร ด์ ซาเปอร์ (Edward Sapir) เขาม องว ่า
ภาษาม ีค วามเชื่อมโยงอ ย่างเหนียวแ น่นก ับส ังคมแ ละว ัฒนธรรมข องม นุษย์ เขาเชื่อว ่าม นุษย์เราค ิดผ ่านภ าษา
และมนุษย์จะเรียนรู้ภ าษาได้ก ็ต่อเมื่อพวกเขาเติบโตในสังคมเท่านั้น ดังน ั้นภ าษาจึงมีอ ิทธิพลต่อการรับรู้โลก
ของม นุษย์ นอกจากน ั้นย ังม ีบ ลูมฟ ิลด์ (Bloomfield) นักภ าษาศาสตร์ท ี่ม ุ่งเน้นศ ึกษาภ าษาในเชิงว ิทยาศาสตร์
เช่นกัน โดยเขามองภาษาในฐานะที่เป็นตัวเชื่อมโยงระหว่างผู้พูดและผู้ฟัง ดังนั้นเขาจึงเน้นไปที่การศึกษา
โครงสร้างท างไวยากรณ์ข องภาษาท ั้งวจีว ิภาคสำ�หรับก ารส ร้างค ำ� และว ากยสัมพันธ์ส ำ�หรับก ารสร้างวลี ทั้งนี้
โซซ ูร์ย ังได้เปิดพื้นที่ให้ม ีทฤษฎีท างภาษาศาสตร์เกิดขึ้นอ ีกมากมาย เช่น ภาษาศาสตร์โครงสร้างสายอเมริกา
และภ าษาศาสตร์สำ�นักล อนดอน เป็นต้น
หลังจากศ ึกษาเน้อื หาสาระเรื่องที่ 8.2.2 แลว้ โปรดปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 8.2.2
ในแนวการศ ึกษาห น่วยที่ 8 ตอนท ี่ 8.2 เร่ืองที่ 8.2.2
เรื่องที่ 8.2.3 ประเภทข องภ าษาศาสตรใ์ นปจั จุบนั
สำ�หรับการเรียนการสอนภาษาศาสตร์ในปัจจุบันนี้สามารถแบ่งประเภทของการศึกษาแยกย่อยได้
ดังนี้
1. ภาษาศาสตร์วรรณนา (Descriptive linguistics) เป็นการศ ึกษาภ าษาในช ่วงเวลาใดเวลาห นึ่ง
โดยจ ะน ำ�แนวคิดแ ละท ฤษฎที างภ าษาศาสตร์ม าใชว้ ิเคราะหต์ ั้งแตห่ น่วยท ีเ่ล็กส ุดข องภ าษาจ นไปถ ึงโครงสร้าง
ประโยค ตัวอย่างท ี่เห็นได้ชัดข องก ารศ ึกษาภ าษาศาสตร์ว รรณนาคือ การศึกษาศิลาจ ารึก
2. ภาษาศ าสตรเ์ ชิงท ฤษฎี คอื ก ารศ ึกษาโครงสร้างท างไวยากรณห์ รอื ก ฎข องภ าษา ซึง่ ว ิชาท ีเ่กีย่ วข้อง
กับภาษาศาสตร์เชิงท ฤษฎีท ี่ผู้เรียนจ ำ�เป็นต้องศ ึกษา ได้แก่
2.1 สัทศาสตร์ (Phonetics) หรือการศึกษาเกี่ยวกับระบบเสียงของภาษา ยกตัวอย่างเช่น
การศึกษาเกี่ยวก ับลักษณะก ารเปล่งเสียงแ ต่ละเสียงอ ย่างไร ซึ่งได้แก่ เสียงกักหรือเสียงระเบิด ซึ่งจะได้ยิน
ได้จากการออกเสียงต ัว [p] หรือตัว [t] เป็นต้น ส่วนเสียงน าสิกเป็นเสียงท ี่ได้ยินได้ในการอ อกเสียงตัว [m]
หรือ [n] เป็นต้น ในข ณะท ีเ่สียงเสียดแ ทรกจ ะได้ยินเมื่ออ อกเสียงต ัว [f] หรือ [s] เป็นต้น ต่อม าเสียงก ักเสียด