Page 20 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 20

8-10 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา

เร่ืองท​ ี่ 8.1.3 	กระบวนการศ​ กึ ษาภ​ าษา​ของ​นกั ​ภาษาศาสตร์

       การศ​ ึกษา​ภาษาข​ อง​นักภ​ าษาศาสตร์​ใน​ปัจจุบัน​จะเ​ป็น​ไป​ใน​เชิง​วิทยาศาสตร์ท​ ั้ง​สิ้น โดยย​ ึด​หลัก​ของ​
เหตุ​และ​ผล​เป็น​ที่​ตั้ง​ใน​การ​ศึกษา​วิจัย โดย​เริ่ม​ต้น​ที่​การ​ตั้ง​คำ�ถาม​ต่อ​แง่​มุม​ของ​ภาษา​ที่​ผู้​ศึกษา​มี​ความ​สนใจ
จาก​นั้น​ผู้​ศึกษา​จึง​ตั้ง​สมมติฐาน​ของการ​ศึกษา ใน​ขั้น​ตอน​ของ​การ​ค้นคว้า​วิจัย​จะ​เป็น​ขั้น​ตอน​การ​ค้นคว้า
​และ​รวบรวม​ข้อมูล เมื่อ​รวบรวม​ข้อมูล​เสร็จ​สิ้น ผู้​ศึกษา​จะ​ทำ�การ​วิเคราะห์​ข้อมูล​ที่​ได้​มา​โดย​ใช้​องค์​ความ​รู้​
และท​ ฤษฎใ​ี นท​ างภ​ าษาศาสตรม์​ ารอ​ งร​ บั ขัน้ ต​ อนส​ ดุ ทา้ ยข​ องก​ ารศ​ กึ ษาภ​ าษาข​ องน​ กั ภ​ าษาศาสตรใ์​นป​ จั จบุ นั ค​ อื
การส​ รุปผ​ ลก​ ารว​ ิเคราะห์ข​ ้อมูลท​ ี่ไ​ดม้​ าใ​ห้เ​ป็นก​ ฎเ​กณฑ์ จึงเ​ห็นไ​ดว้​ ่าข​ ั้นต​ อนก​ ารศ​ ึกษาว​ ิจัยด​ ังก​ ล่าวเ​ป็นการน​ ำ�​
เอาก​ ระบวนการศ​ ึกษาค​ ้นคว้าแ​ บบว​ ิทยาศาสตรม​์ าใ​ชใ​้ นก​ ารศ​ ึกษาภ​ าษา ตัวอยา่ งข​ องก​ ารศ​ ึกษาแ​ งม​่ มุ ข​ องภ​ าษา​
ใน​ทางภ​ าษาศาสตร์ เช่น การศ​ ึกษาถ​ ึง​ความแ​ ตกต​ ่าง​ระหว่าง​การ​ออกเ​สียง “ร” และ “ล” ในภ​ าษา​ไทย และ​
การ​ออกเ​สียง​ตัว “r” และ ตัว “l” ใน​ภาษา​อังกฤษ เป็นต้น

       เมื่อ​การ​ศึกษา​ภาษา​มี​ความ​เป็น​วิทยาศาสตร์ ดัง​นั้น​ลักษณะ​ของ​ภาษาศาสตร์​จึง​มี​ความ​เป็น​
วิทยาศาสตร์​ด้วย​เช่น​เดียวกัน กล่าว​คือ​ภาษาศาสตร์​มี​ความ​เป็น​เชิง​วรรณนา (Descriptive) กล่าว​คือ
ภาษาศาสตร์​จะ​บรรยาย​ใน​สิ่ง​ที่​ศึกษา​ตาม​ที่​เกิด​ขึ้น​จริง โดย​ไม่​ได้​มุ่ง​บรรยาย​ผ่าน​มุม​มอง​ของ​ใคร​คน​ใด​คน​
หนึ่งแ​ ล้วต​ ีความว​ ่าส​ ิ่งท​ ี่ศ​ ึกษาน​ ั้นด​ ีห​ รือไ​ม่ หรือถ​ ูกห​ รือผ​ ิดอ​ ย่างไร ยกต​ ัวอย่างเ​ช่น นักภ​ าษาศาสตร์จ​ ะไ​ม่ช​ ี้ถ​ ูก​
หรือผ​ ิดว​ ่าผ​ ู้ท​ ี่อ​ อก​เสียง “ร” ในภ​ าษาไ​ทย​เป็น​เสียง​ตัว “r” ในภ​ าษา​อังกฤษ​ว่าเ​ป็น​ผู้ท​ ี่ใ​ช้​ภาษาไ​ทยผ​ ิด แต่น​ ัก​
ภาษาศาสตร์อ​ าจ​จะม​ ุ่งเ​น้น​ศึกษา​ถึง​ความ​แตก​ต่าง​ระหว่างก​ าร​ออก​เสียง​ทั้งส​ อง ดังต​ ัวอย่างท​ ี่ไ​ด้ย​ กไ​ปแ​ ล้ว​ใน​
ย่อหน้าข​ ้างต​ ้น ดังน​ ั้นภ​ าษาศาสตรจ์​ ึงม​ คี​ วามเ​ป็นว​ ัตถุวิสัยเ​ช่นเ​ดียวกันก​ ับว​ ิทยาศาสตร์ กล่าวค​ ือผ​ ูศ้​ ึกษาไ​มไ่​ด​้
ศึกษา​ภาษา​ด้วย​อารมณ์ค​ วามร​ ู้สึก หาก​มีใ​จ​ที่​เป็นก​ลางใ​นก​ าร​ศึกษา ดัง​นั้น​นัก​ภาษาศาสตร์จ​ ะ​ไม่​ชี้นำ�​ว่าภ​ าษา​
ใด​ถูก ภาษา​ใด​ดี​กว่า หรือก​ ารอ​ อก​เสียง​แบบใ​ด​ถูก​ต้องท​ ี่สุด แต่​นัก​ภาษาศาสตร์​จะ​ชี้​ให้​เห็นอ​ ีก​หนึ่ง​แนวคิด​
ที่เ​กี่ยว​กับแ​ ง่​มุม​ของ​ภาษา​ต่างๆ มากกว่า

       	
              หลังจ​ าก​ศึกษาเ​น้อื หาส​ าระเ​รอ่ื ง​ท่ี 8.1.3 แลว้ โปรดป​ ฏิบัตก​ิ จิ กรรม 8.1.3
                      ในแ​ นว​การ​ศกึ ษาห​ นว่ ย​ท่ี 8 ตอนท​ ่ี 8.1 เร่ือง​ท่ี 8.1.3
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25