Page 18 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 18

8-8 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา

       จาก​นั้น​พระองค์​ได้​ทรง​สอน​ให้​อดัม​รู้จัก​ชื่อ​ของ​สรรพ​สิ่ง​ต่างๆ บน​โลก​นี้ และ​ยัง​ได้​ทรง​มี​บัญชา​ให้​
อดัม​บอก​ชื่อ​ดัง​กล่าว​เหล่า​นั้น​แก่​บรรดา​เหล่า​ทูต​สวรรค์​ทั้ง​หลาย​อีก​ด้วย ซึ่ง​ปรากฏ​ให้​เห็น​ใน​บท​อัล-บา​คา​
เราะ​ห์ อายัต​ที่ 30-33 ดังน​ ั้น

       And He taught Adam the names - all of them. Then He showed them to the angels and
said, “Inform Me of the names of these, if you are truthful.” They said, “Exalted are You; we
have no knowledge except what You have taught us. Indeed, it is You who is the Knowing,
the Wise.” He said, “O Adam, inform them of their names.” And when he had informed them
of their names, He said, “Did I not tell you that I know the unseen [aspects] of the heavens and
the earth? And I know what you reveal and what you have concealed.” (Quran.com, 2012)

       เรื่องนี้​สะท้อน​ให้​เห็น​ว่า​อดัม​ใน​ศาสนา​อิสลาม​สามารถ​เข้าใจ​ภาษา​พูด​และ​สามารถ​สื่อสาร​ได้​ใน​วัน​
แรกท​ ีเ่​ขาก​ ำ�เนิดเ​ช่นเ​ดียวกัน จึงเ​ห็นไ​ดว้​ ่าเ​รื่องเ​ล่าท​ างศ​ าสนาส​ ่วนใ​หญม่​ คี​ วามเ​ชื่อว​ ่าม​ นุษยเ์​ราเ​กิดม​ าก​ ับค​ วาม​
สามารถ​ใน​การ​ใช้ภ​ าษา​และก​ ารส​ ื่อสาร

       ส�ำ หรบั ม​ มุ ม​ องข​ องน​ กั ภ​ าษาศาสตรท​์ มี​่ ต​ี อ่ ก​ ารก​ �ำ เนดิ ข​ องภ​ าษาแ​ ละก​ ารส​ ือ่ สารน​ ัน้ อ​ าจจ​ ะย​ งั ไ​มส​่ ามารถ​
หา​ข้อ​สรุป​ได้​อย่าง​ชัดเจน​ว่า​ภาษา​และ​การ​สื่อสาร​เกิด​ครั้ง​แรก​เมื่อ​ใด และ​เกิด​ขึ้น​ได้​อย่างไร แต่​ก็มี​ทฤษฎี​
มากมายท​ ีอ่​ ธิบายเ​กี่ยวก​ ับก​ ารก​ ำ�เนิดข​ องภ​ าษา ตัวอย่างเ​ช่น Bow-Wow Theory ทีเ่​ชื่อว​ ่าภ​ าษาข​ องม​ นุษยเ์​กิด​
จากก​ ารล​ อกเ​ลียนเ​สียงจ​ ากธ​ รรมชาติ เช่น เสียงข​ ู่ฟ​ ่อแ​ ละเ​สียงห​ ายใจห​ อบแ​ รงข​ องส​ ัตว์ หรือเ​สียงร​ ้องข​ องส​ ัตว์
เป็นต้น นอกจาก​นี้​ยังม​ ี Pooh Pooh Theory ที่เ​ชื่อว​ ่า​ภาษาเ​ป็น​สิ่ง​ที่เ​กิด​ขึ้น​ตาม​สัญชาตญาณข​ องม​ นุษย์ เช่น
เสียง​ร้องท​ ี่​เกิด​ขึ้นจ​ าก​ความเ​จ็บป​ วด และ​ยังม​ ี Ding Dong Theory ที่เ​ชื่อว​ ่า​ภาษา​พูดเ​กิด​จาก​การ​ที่​มนุษย​์
มี​ปฏิกิริยา​ตอบ​สนอง​ต่อ​สิ่ง​แวดล้อม​รอบ​ตัว ตัวอย่าง​เช่น การ​ออก​เสียง “ma” หรือ “แม่” ซึ่ง​เป็น​หนึ่ง​ใน
ค​ ำ�​พูดแ​ รกๆ ที่เ​ด็กพ​ ูดไ​ด้น​ ี้ เป็นเ​สียงท​ ี่เ​กิดข​ ึ้นจ​ ากก​ ารใ​ชร้​ ิมผ​ ีป​ ากท​ ั้งบ​ นแ​ ละล​ ่างใ​นก​ ารเ​ปล่งเ​สียง ซึ่งน​ ่าจ​ ะเ​ป็น​
ผลม​ าจ​ ากก​ าร​ที่ท​ ารก​ใช้ร​ ิมฝ​ ีปาก​ดูดน​ ม นอกจาก​นั้น​ยัง​มี Yo-he-ho Theory ที่​มี​สมมติฐานว​ ่า​ภาษาเ​กิดข​ ึ้น​
เมื่อม​ นุษย์ท​ ำ�งาน​และม​ ี​ปฏิสัมพันธ์ร​ ะหว่าง​กัน ซึ่งก​ ารเ​คลื่อนไหวท​ างร​ ่างกายข​ อง​แต่ละ​ฝ่าย​ก่อใ​ห้​เกิด​เสียงท​ ี​่
เกดิ ข​ ึ้นใ​นล​ �ำ ​คอ และน​ ำ�​ไปส​ กู่​ ารเ​ปล่งเ​สียงท​ ีค่​ ล้ายบ​ ทส​ วดห​ รอื บ​ ทเพลง จนท​ ำ�ใหเ​้ กดิ เ​ป็นภ​ าษาใ​นท​ ี่สดุ ตวั อย่าง​
ที่เ​ห็นไ​ด้​ชัด​คือ ​แต่ละภ​ าษาต​ ่าง​มีก​ ารเ​น้นเ​สียงห​ นักเ​บาแ​ ละส​ ูง​ตํ่าแ​ ตกต​ ่าง​กันไ​ป (Liza Das, 2006)

       อยา่ งไร​กต็ าม ใน​ชว่ งท​ ศวรรษ 1960 นกั ภ​ าษาศาสตร์​เลอื่ ง​ชื่ออ​ ย่าง โนม ชอม​สกี (Noam Chomsky)
ได้​ตั้ง​สมมติฐาน​เอา​ไว้​ว่า มนุษย์​น่า​จะ​เกิด​มา​พร้อม​กับ​ความ​สามารถ​ใน​การ​เรียน​รู้​ไวยากรณ์​ทาง​ภาษา​และ​
การ​สื่อสาร​ได้​ตั้งแต่​กำ�เนิด นั่น​เป็น​เพราะ​ส่วน​หนึ่ง​ของ​สมอง​มนุษย์​ทำ�งาน​เกี่ยว​กับ​ภาษา​และ​ไวยากรณ์​โดย​
เฉพาะ ชอมสกี​เปรียบส​ ่วน​นี้​ของส​ มอง​ว่าเ​ป็น “a built-in language organ that contains this language
blueprint” (อ้างถ​ ึงใ​น Harrub, Thompson, & Dave, 2003) หรือเ​ป็น​ชิ้นส​ ่วนท​ ี่​มี​มาแ​ ต่ก​ ำ�เนิด ซึ่งใ​น​สมอง​
ส่วน​นี้​ประกอบ​ด้วย​พิมพ์เขียว​ใน​เรื่อง​ภาษา เห​ตุ​ที่​ชอม​สกี​สันนิษฐาน​เช่น​นี้​เป็น​เพราะ​เขา​ได้​สังเกต​เห็น​ว่า​
เด็ก​เล็ก​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​เรียน​รู้​คำ�​ศัพท์​และ​กฎ​การ​ใช้​ไวยากรณ์​ต่างๆ ได้​ด้วย​ตนเอง โดยที่​ผู้ใหญ่​ไม่​
จำ�เป็นต​ ้อง​สอนพ​ วกเ​ขา ความ​เชื่อ​ดัง​กล่าวข​ อง​ชอม​สกี​ทำ�ให้เ​กิด​การ​วิพากษ์​วิจารณ์ก​ ัน​อย่าง​กว้างข​ วาง​ใน​หมู​่
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23