Page 19 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 19
ภาษาและภาษาศาสตร์ 8-9
นักภาษาศาสตร์ ซึ่งมีทั้งเห็นด้วยและไม่เห็นด้วยกับแนวคิดของชอมสกี อย่างไรก็ตามแนวคิดดังกล่าวก็ได้
รับค วามเชื่อถ ือก ันมากในห มู่นักภ าษาศาสตร์ด ้วยก ัน
เหตุที่สมมติฐานของชอมสกีมีความน่าเชื่อถือเป็นเพราะ หลังจากนั้นนักวิทยาศาสตร์หลายท่าน
ได้ทำ�การศึกษาการทำ�งานของสมองและพบว่าสมองเป็นส่วนสำ�คัญต่อการใช้ภาษาเพื่อสื่อสารของมนุษย์
ตัวอย่างเช่น ในปี ค.ศ. 1861 พอล โบรคา (Paul Broca) ได้ทำ�การศึกษาผู้ป่วยที่มีปัญหาทางการสื่อสาร
แ ละก ารพ ูด โดยผ ู้ป ่วยร ายน ี้ส ามารถพ ูดได้เพียงค ำ�เดียว หลังจ ากผ ู้ป ่วยเสียช ีว ิตโบรค าก ็ได้ท ำ�การผ ่าตัดแ ละ
ศึกษาสมองของผู้ป่วย เขาพบว่าสมองส่วนหน้าทางด้านซ้ายของผู้ป่วยเสียหายอย่างรุนแรง ต่อมาได้มีการ
ศึกษาเพิ่มเติมและพบว่า ผู้ป่วยที่สมองส่วนนี้ได้รับการกระทบกระเทือนจะสามารถเข้าใจภาษาที่สื่อสารได้
แต่พ วกเขาก ลับไม่ส ามารถส ื่อสารความคิดของตนออกม าเป็นค ำ�พูดได้ ทำ�ให้พ วกเขามีอ าการพูดต ิดขัดและ
อ้อแอ้ ต่อม าในภายห ลังชิ้นส ่วนข องส มองช ิ้นนี้ถ ูกเรียกว่า “Broca’s area” อีกห นึ่งง านวิจัยท ี่ส นับสนุนแ นว
คิดของช อมสกีเกิดขึ้นในป ี ค.ศ. 1876 ซึ่ง คาร์ล เวอร์น ิกค์ (Carl Wernicke) ได้ศ ึกษาพบว่า หากอีกช ิ้นส ่วน
หนึ่งของส มองถูกทำ�ลายได้รับความเสียหายจ ะส ่งผ ลให้ผ ู้ป ่วยไม่ส ามารถเข้าใจภาษาและการสื่อสาร อย่างไร
ก็ตามผู้ป่วยยังส ามารถเปล่งเสียงพูดออกเป็นค ำ�ได้ แต่คำ�พูดท ี่อ อกมาน ั้นกลับไม่ส ื่อความหมาย ทำ�ให้ผ ู้ฟัง
ไม่สามารถเข้าใจผู้ป่วยได้ ซึ่งต่อมาส ่วนน ี้ของส มองถ ูกเรียกว่า “Wernicke’s area” จากก ารศ ึกษาวิจัยของ
นักวิทยาศาสตร์ทั้งสองท่าน ทำ�ให้เราทราบได้ว่าสมองมีส่วนสำ�คัญต่อการเข้าใจภาษาและการพูดคุยสื่อสาร
กันของมนุษย์จริงด ังที่ช อมส กีได้ตั้งส มมติฐานไว้
ในบทความเรื่อง “The Origin of Language and Communication” แบรด แฮร์รับ (Brad
Harrub) เบริท์ ธอมป์สัน (Bert Thompson) และเดฟ มิลเลอร์ (Dave Miller) ได้ยกตัวอย่างงานวิจัย
ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร Scientific American ในปี 1979 ซึ่งศึกษาเด็กที่มีความบกพร่องทางการ
ได้ยินจ ำ�นวน 500 คนในประเทศนิค ารากว ัย ซึ่งงานวิจัยชิ้นนี้ก็ร องรับสมมติฐ านของช อมสกีที่ว ่ามนุษย์เกิด
มาพร้อมกับสมองที่มีพิมพ์เขียวในเรื่องภาษาเช่นเดียวกัน โดยเด็กกลุ่มนี้เริ่มเข้าเรียนในโรงเรียนสำ�หรับ
ผูบ้ กพร่องท างการได้ยิน ซึ่งพ วกเขาไมเ่คยไดเ้รียนภ าษาม ือม าก ่อน ผลป รากฏว ่าภ ายในเวลาไมก่ ีป่ เีด็กก ลุ่มน ี้
กลับส ามารถพ ัฒนาภ าษาม ืออ ย่างง ่ายๆ ของต นเองข ึ้นม าเพื่อใชส้ ื่อสารก ัน และเมื่อม เีด็กก ลุ่มใหม่เข้าม า พวก
เขาก ็เรียนร ูภ้ าษาม ือด ังก ล่าวต ่อก ันไปร ุ่นส ูร่ ุ่น และโครงสร้างท างไวยากรณ์ข องภ าษาม ือท ี่พ วกเขาส ร้างข ึ้นเอง
นีก้ ม็ คี วามซ ับซ ้อนม ากข ึ้นต ามก าลเวลาอ ีกด ้วย จึงเห็นไดว้ ่าม ุมม องข องน ักภ าษาศาสตร์ส่วนใหญเ่ห็นว ่าภ าษา
และก ารสื่อสารเป็นสิ่งที่ติดตัวม นุษย์มาต ั้งแต่ก ำ�เนิด ซึ่งก็มีความคล้ายคลึงกับเรื่องเล่าทางศาสนาท ี่ว ่าความ
เข้าใจภาษานั้นติดตัวม นุษย์มาตั้งแต่เกิดเช่นกัน
หลงั จ ากศึกษาเนือ้ หาสาระเรอ่ื งที่ 8.1.2 แล้ว โปรดปฏบิ ัตกิ จิ กรรม 8.1.2
ในแนวการศ กึ ษาหน่วยท ่ี 8 ตอนท่ี 8.1 เรอ่ื งท่ี 8.1.2