Page 24 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 24

8-14 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา

       7. 	 ผู้​เรียน​ภาษาศาสตร์​สามารถ​นำ�​ภาษาศาสตร์​ไป​ประยุกต์​ใช้​สาขา​วิ​ชา​อื่นๆ ได้ เช่น วรรณคดี
สังคมศาสตร์ หรือจ​ ิตวิทยา เป็นต้น

       8. ผู้​เรียน​ภาษาศาสตร์​เมื่อ​เรียน​จบ​ไป​แล้ว ยัง​สามารถ​นำ�​ความ​รู้​ที่​ได้​ไป​ประกอบ​อา​ชี​พอื่นๆ   เช่น
อาชีพ​ทางการ​ศึกษา​ไม่​ว่า​จะ​เป็น​ครู​สอน​วิชา​ภาษา​อังกฤษ​ใน​ฐานะ​ภาษา​ที่​สอง หรือ​อาชีพ​ล่าม​และ​นัก​แปล ​
นักเขียน นัก​หนังสือพิมพ์ นัก​วิจัย หรือ​แม้​กระทั่ง​ดารา​นัก​แสดง เนื่องจาก​เป็น​อาชีพ​ที่​ต้อง​เกี่ยวข้อง​กับ
ก​ ารใ​ช้​ภาษา เป็นต้น

              หลังจ​ ากศ​ ึกษาเ​นื้อหา​สาระเ​รือ่ ง​ที่ 8.2.1 แล้ว โปรด​ปฏบิ ตั ก​ิ ิจกรรม 8.2.1
                      ใน​แนวก​ ารศ​ ึกษา​หนว่ ย​ท่ี 8 ตอนท​ ี่ 8.2 เรื่อง​ที่ 8.2.1

เรื่อง​ที่ 8.2.2 	จุด​ก�ำ เนิด​ของ​ภาษาศาสตร์

       การ​เกิด​ขึ้น​ของ​ภาษาศาสตร์​นั้น​เริ่ม​ต้น​ใน​ศตวรรษ​ที่ 19 เมื่อ​นัก​ภาษาศาสตร์​ชื่อ​ดัง เฟอร์​ดิน​านด์
เดอ โซ​ซูร์ (Ferdinand De Saussure) เริ่ม​ตั้ง​คำ�ถาม​ต่อ​ระบบ​การ​ศึกษา​ภาษา​ใน​เวลา​นั้น อย่างไร​ก็ตาม
หาก​ศึกษา​ย้อน​กลับ​ไป​จะ​พบ​ว่า การ​ศึกษา​ภาษา​นั้น​มี​มา​ตั้งแต่​ใน​อดีต​แล้ว โดย​เริ่ม​ตั้งแต่​ยุค​กรีก​และ​โรมัน
ซึ่งก​ าร​ศึกษา​ภาษา​ของช​ าว​กรีกม​ ุ่ง​ความส​ นใจ​ไปท​ ี่เ​รื่องธ​ รรมชาติข​ องภ​ าษา พวก​เขา​ตั้งคำ�ถาม​ว่า​ภาษา​นั้น​เป็น​
สิ่งท​ ี่ธ​ รรมชาติส​ ร้างข​ ึ้น หรือเ​ป็นส​ ิ่งท​ ี่ม​ นุษย์ก​ ำ�หนดข​ ึ้นก​ ันแ​ น่ นักป​ ราชญ์ค​ นส​ ำ�คัญใ​นย​ ุคน​ ั้นไ​ด้แก่ อริสโตเติล
และ​เพลโ​ต

       ต่อ​มา​ใน​ยุค​กลาง​จน​ไป​ถึง​ยุค​ฟื้นฟู​ศิลปวิทยา การ​ศึกษา​ภาษาจ​ ะ​เป็นการ​ศึกษาโ​ครงสร้าง​ภาษา​ทาง​
ไวยากรณ์เ​พียง​เท่านั้น โดย​จะว​ ิเคราะห์โ​ครงสร้าง​ของค​ ำ� ต่อม​ าใ​น​ช่วงป​ ลาย​ศตวรรษท​ ี่ 18 การศ​ ึกษา​ภาษาจ​ ะ​
เป็น​ไป​ใน​รูป​แบบ​ของ​การ​ศึกษา​การ​กำ�เนิด​และ​พัฒนาการ​ของ​คำ�​หรือ​ที่​เรียก​ว่าการ​ศึกษา​ใน​เชิง​นิรุกติศาสตร์
มุ่ง​สนใจ​ศึกษาภ​ าษา​เขียนโ​บราณว​ ่าม​ ี​ที่มาอ​ ย่างไร เป็นการศ​ ึกษาภ​ าษา​ใน​เชิงป​ ระวัติศาสตร์ จุด​เริ่ม​ต้นส​ ำ�คัญ​
ที่​ทำ�ให้​มี​การ​ศึกษา​ภาษา​ใน​เชิง​ประวัติศาสตร์​เกิด​ขึ้น​เมื่อ​มี​การ​ค้น​พบ​ว่า​ภาษา​สันสกฤต​นั้น​มี​ความ​เชื่อม​
โยง​กับ​ภาษา​ยุโรป​อย่าง​ภาษา​กรีก​และ​ละติน การ​ศึกษา​ของ​นัก​ภาษาศาสตร์​ใน​ยุค​นี้​จึง​เป็น​ไป​ใน​รูป​ของ​การ
เ​ปรียบเ​ทียบ เป็นการ​เปรียบ​เทียบ​ระหว่างภ​ าษา​ต่างๆ เพื่อ​หาความส​ ัมพันธ์ร​ ะหว่าง​กัน

       ต่อ​มา​ช่วง​ศตวรรษ​ที่ 19 เป็น​ช่วง​ที่น​ ัก​ภาษาศาสตร์​ เช่น เฟอร์ด​ ิน​านด์ เดอ โซซ​ ูร์ เริ่ม​ศึกษาภ​ าษา​ใน​
เชิงว​ ิทยาศาสตร์ โซ​ซูร์​เริ่ม​ตั้ง​คำ�ถาม​กับ​กระบวนการ​ศึกษา​ภาษา​ของ​นัก​ภาษาศาสตร์​ที่​ผ่าน​มา​ว่า​มี​ความ​เป็น​
วิทยาศาสตร์ห​ รือไ​ม่ เขาม​ อง​ว่าที่​ผ่านน​ ัก​ภาษาศาสตร์ใ​น​เวลา​นั้นย​ ัง​ศึกษา​ภาษา​ไม่​เป็นร​ ะบบแ​ ละไ​ม่เ​หมาะ​สม
เขา​เห็น​ว่าน​ ักภ​ าษาศาสตร์ใ​นเ​วลา​นั้นย​ ังค​ งส​ ับสน​และ​ไม่เ​ข้าใจ​ในง​ านข​ องต​ นเองอ​ ย่างช​ ัดเจน อีกท​ ั้ง​เขาย​ ังเ​ชื่อ​
ว่าน​ ักภ​ าษาศาสตร์ค​ วรห​ ันม​ า​ให้ค​ นส​ นใจ​ภาษาพ​ ูดด​ ้วย งานศ​ ึกษา​ที่​โดดเ​ด่น​ของโ​ซซ​ ูร์ค​ ือ การท​ ี่เ​ขาม​ อง​ภาษา​
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29