Page 22 - หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ และบริบททางภาษา
P. 22
8-12 หลักการเรียนรู้ภาษาอังกฤษและบริบททางภาษา
เร่อื งท่ี 8.2.1 ความห มายและค วามส ำ�คัญของภ าษาศาสตร์
ความหมายข องภาษาศาสตร์
ในขณะที่คำ�ว่าภาษาศาสตร์ ราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายของคำ�นี้ไว้ว่า “ภาษาศาสตร์
(ค�ำ นาม) หมายถ ึง วิชาท ศี่ กึ ษาภ าษาในแ งต่ ่างๆ เช่น เสยี ง โครงสรา้ ง ความห มาย โดยอ าศัยว ิธกี ารว ทิ ยาศาสตร์
เช่น มีก ารตั้งสมมติฐาน เก็บแ ละวิเคราะห์ข้อมูลแ ล้วสรุปผ ล” (ราชบัณฑิตยสถาน ออนไลน์ 2555)
เช่นเดียวกันกับพจนานุกรมเคมบริดจ์ก็ได้ให้ความหมายของคำ�นี้ในภาษาอังกฤษเอาไว้ว่า
“Linguistics: the systematic study of the structure and development of language in general
or of particular languages” (Cambridge Dictionary Online, 2012)
จากความหมายข้างต้นของคำ�ว่าภาษาและภาษาศาสตร์ จะเห็นได้ว่าสองคำ�นี้ดูเหมือนมีความ
คล้ายคลึงกัน แต่ความหมายนั้นกลับแตกต่างกัน โดยความหมายของภาษานั้นเกี่ยวข้องกับเรื่องของการ
สื่อสาร ภาษาจึงถือเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้เพื่อสื่อสารความคิดและอารมณ์ความรู้สึกจากผู้ส่งสารฝ่าย
หนึ่งไปสู่ผ ู้รับสารอีกฝ่ายห นึ่ง ดังน ั้นภ าษาจ ึงไม่ได้มีห มายความเพียงภาษาพ ูดเท่านั้น หากย ังห มายถ ึงภาษา
ท่าทางหรือภาษากาย ภาษามือ ภาษาคอมพิวเตอร์ หรือแม้กระทั่งรูปภาพและสัญลักษณ์ก็จัดอยู่ในความ
หมายของภาษาเช่นเดียวกัน ตัวอย่างเช่น ไฟสัญญาณจราจรเขียว เหลือง แดง ต่างก็ส่งสารแตกต่างกันไป
หรือเสื้อผ้าที่สวมใส่ก ็ส ่งสารหรือบ่งบ อกถ ึงค่าน ิยมแ ละสถานะท างส ังคมข องผู้ที่สวมใส่ได้
ในขณะที่ความหมายของภาษาศาสตร์นั้นกลับเกี่ยวข้องกับเรื่องของการศึกษาภาษา ไม่ว่าจะเป็น
การศึกษาคำ� การออกเสียง หรือโครงสร้างทางไวยากรณ์ของภาษา โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
และหลักการของเหตุและผลมาทำ�การศึกษาค้นคว้าวิจัยภาษาอย่างเป็นระบบ ดังนั้นองค์ความรู้ที่ได้จาก
ภาษาศาสตร์จึงไม่ได้เป็นเพียงเรื่องเล่าหรือความเชื่อที่สืบทอดต่อกันมาเกี่ยวกับภาษาเท่านั้น หากแต่เป็น
ผลจากการศึกษาและวิจัยอย่างเป็นเหตุเป็นผลและมีความเป็นวัตถุวิสัย ภาษาศาสตร์ถือได้ว่ามีประโยชน์
เป็นอย่างมากต่อวงการการศึกษา เช่น ภาษาศาสตร์ทำ�ให้เราได้รู้ถึงโครงสร้างของภาษาและความสำ�คัญ
ของภ าษา เป็นต้น
เมื่อนักภาษาศาสตร์มองภาษาเป็นหน่วยที่เป็นระบบและมีโครงสร้าง ดังนั้นความหมายของคำ�ว่า
ภาษาในทางภาษาศาสตร์จึงหมายถึง กลุ่มของสัญญะ ซึ่งสัญญะในที่นี้หมายถึงกลุ่มของคำ�หรือเสียงที่มี
ความหมายแ ละโครงสร้างท างไวยากรณ์ ซึ่งนำ�มาใช้เป็นเครื่องมือในการส ื่อสาร
ความส �ำ คญั ข องภ าษาศาสตร์
เหตุที่ภาษาศาสตร์ม ีความสำ�คัญต่อวงการการศึกษาเป็นเพราะได้มีการนำ�เอาภาษาศาสตร์ไป
ประยกุ ตเ์ ขา้ ก บั ก ารเรยี นก ารส อนศ าสตรแ์ ขน งอ ืน่ ๆ ไมว่ า่ จ ะเปน็ ภ าษาศาสตรเ์ ชงิ ว พิ ากษท์ มี่ ุง่ เนน้ ศ กึ ษาภ าษาใน
ฐานะป รากฏการณ์ท างส ังคม โดยศ ึกษาว ่าป รากฏการณ์ท างส ังคมม ีผ ลต ่อภ าษาอ ย่างไรบ ้าง นอกจากน ั้นย ังม ี