Page 14 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษาและโทรคมนาคมเพื่อการศึกษา
P. 14
9-4
2. การวัดประเมินพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย ประกอบด้วย การวัดนํ้าหนัก
ส่วนส ูง เส้นรอบศ ีรษะ การใช้กล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการป ระสานส ัมพันธ์ ซึ่ง
สามารถว ดั ป ระเมนิ ได้ ทัง้ แ บบเปน็ ท างการแ ละไมเ่ ปน็ ท างการ ดว้ ยเครือ่ งม อื ท มี่ คี วามเทีย่ ง
ความตรง ความเหมาะสม เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ในการจัดประสบการณ์เพื่อ
พัฒนาเด็กป ฐมวัย
3. การวัดประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคม ประกอบด้วย การวัดประเมิน
ความร ู้สึกต ่อต นเองแ ละผ ูอ้ ื่น คุณธรรม และก ารม ปี ฏิสัมพันธก์ ับบ ุคคลต ่างๆ รอบต ัวเด็ก
ซึ่งส ามารถเลือกใช้เครื่องม ือต ่างๆ ที่ห ลากห ลาย ทั้งแ บบท ดสอบ แบบส ังเกต แบบบ ันทึก
พฤติกรรม และแบบสัมภาษณ์ โดยค ำ�นึงถ ึงพื้นฐานทางส ังคม วัฒนธรรม และภ าษาของ
เด็กปฐมวัย
4. การวัดประเมินพัฒนาการด้านสติปัญญา ประกอบด้วย การวัดประเมินการรู้คิด การใช้
ภาษา ความคิดสร้างสรรค์ ด้วยวิธีการวัดประเมินแบบเป็นทางการโดยใช้แบบทดสอบ
มาตรฐาน และแ บบไม่เป็นทางการโดยใช้แ บบสังเกต แบบสัมภาษณ์ ตัวอย่างผ ลง านเด็ก
เพื่อนำ�ไปประเมินความสามารถทางสติปัญญา ทั้งนี้ ต้องคำ�นึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุคคลข องเด็กป ฐมวัย
วตั ถุประสงค์
1. เมื่อศึกษาแนวคิดเกี่ยวกับการวัดประเมินเด็กปฐมวัยแล้ว นักศึกษาสามารถอธิบายและ
สรุปความหมาย จุดมุ่งหมาย หลักการ ลักษณะ และประเภทของการวัดประเมินเด็ก
ปฐมวัยได้
2. เมื่อศึกษาการวัดประเมินพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัยแล้ว นักศึกษาสามารถ
อภิปรายและสรุปประเด็นสำ�คัญเกี่ยวกับการวัดประเมินพัฒนาการด้านร่างกายของเด็ก
ปฐมวัยได้
3. เมื่อศึกษาการวัดประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กปฐมวัยแล้ว
นักศึกษาส ามารถอ ภิปรายแ ละส รุปป ระเด็นส ำ�คัญเกี่ยวก ับก ารว ัดป ระเมินพ ัฒนาการด ้าน
อารมณ์ จิตใจ และสังคมข องเด็กปฐมวัยได้
4. เมื่อศ ึกษาก ารว ัดป ระเมินพ ัฒนาการด ้านส ตปิ ัญญาข องเด็กป ฐมวัยแ ล้ว นักศึกษาส ามารถ
อภปิ รายแ ละส รปุ ป ระเดน็ ส ำ�คญั เกีย่ วก บั ก ารว ดั ป ระเมนิ พ ฒั นาการด า้ นส ตปิ ญั ญาข องเดก็
ปฐมวัยไ ด้