Page 45 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษาและโทรคมนาคมเพื่อการศึกษา
P. 45

9-35

       ข้อคิด​สำ�คัญ​ที่​ครู​ปฐมวัย​ควร​ตระหนัก​เมื่อ​จะ​ทำ�การ​วัด​ประเมิน​เด็ก​ปฐมวัย​ด้าน​ร่างกาย​มี​หลาย​
ประการ เช่น 1) เด็ก​ปฐมวัย​ไม่ใช่​ผู้ใหญ่​ที่​ย่อ​ส่วน หรือ​เด็ก​วัย​รุ่น หรือ​เด็ก​โต แต่​เด็ก​ปฐมวัย​มี​เอกลักษณ์​
เฉพาะข​ องต​ น มคี​ วามต​ ้องการ ความส​ นใจแ​ ละค​ วามส​ ามารถแ​ ตกต​ า่ งจ​ ากว​ ัยอ​ ืน่ 2) พฒั นาการแ​ ต่ละด​ า้ นม​ ก​ี าร​
เชื่อม​โยง​และ​ส่งผ​ ลก​ระ​ทบ​ต่อ​กัน การ​แยก​พัฒนาการ​ทางร​ ่างกาย กล้ามเ​นื้อ และก​ าร​รับร​ ู้อ​ อก​จาก​พัฒนาการ​
ด้าน​อื่นจ​ ึง​เป็น​เรื่องย​ าก เป็นต้น

       3. 	 พัฒนาการ​ด้าน​อารมณ์ จิตใจ และ​สังคม​ของ​เด็ก​ปฐมวัย​มี​ขอบข่าย​ครอบคลุม อารมณ์ ความ​
รู้สึกต​ ่อต​ นเองแ​ ละผ​ ู้อ​ ื่นเ​มื่ออ​ ยู่ใ​นส​ ถานการณ์ต​ ่างๆ ซึ่งเ​กี่ยวข้องก​ ับพ​ ัฒนาการด​ ้านส​ ังคมท​ ี่เ​ป็นค​ วามส​ ามารถ​
ในก​ าร​สร้าง​สัมพันธภาพก​ ับผ​ ู้อ​ ื่น การช​ ่วยเ​หลือต​ นเอง การร​ ู้​ผิด​ชอบ​ชั่วด​ ี คุณธรรม และ​การ​อยู่ร​ ่วม​กับ​ผู้​อื่น

       วิธี​การ​วัด​ประเมิน​พัฒนาการ​ด้าน​อารมณ์ จิตใจ และ​สังคม มี​วิธี​วัด​ประเมิน​ทั้ง​แบบ​เป็น​ทางการ​
และ​แบบ​ไม่​เป็น​ทางการ แบบ​เป็น​ทางการ​เป็นการ​ทดสอบ​เพื่อ​ทราบ​ความ​รู้สึก​หรือ​พฤติกรรม​ทาง​สังคม​ของ​
เด็ก​ปฐมวัย​โดย​การ​สร้าง​สถานการณ์​มา​ถาม​แล้ว​ให้​เด็ก​ตอบ ส่วน​แบบ​ไม่​เป็น​ทางการ​มี​ทั้ง​การ​สังเกต การ​
สัมภาษณ์

       ข้อ​ควร​ตระหนัก​เมื่อ​ต้อง​วัด​ประเมิน​พัฒนาการ​ด้าน​อารมณ์ จิตใจ และ​สังคม​ของ​เด็ก​ปฐมวัย เช่น​
1) ผู้​วัด​ประเมิน​ต้อง​มี​ความ​รู้ ความ​เข้าใจ​ใน​พัฒนาการ​ด้าน​อารมณ์ จิตใจ และ​สังคม​ของ​เด็ก​ปฐมวัย​เป็น​
อย่างด​ ี 2) ต้องฝ​ ึกก​ ารส​ ังเกตพ​ ฤติกรรมเ​ด็กแ​ ละร​ ู้จักบ​ ันทึกพ​ ฤติกรรมเ​ด็กท​ ีเ่​ป็นจ​ ริงว​ ่าเ​ด็กส​ ามารถท​ ำ�อ​ ะไรไ​ด้
สำ�หรับ​ข้อ​ควรร​ ะวังใ​นก​ าร​วัดป​ ระเมินพ​ ัฒนาการ​ด้านอ​ ารมณ์ จิตใจ และส​ ังคม เช่น 1) ต้องร​ ะมัดระวังใ​น​การ​
เลือกใ​ชเ้​ครื่องม​ ือใ​นก​ ารว​ ัดป​ ระเมินพ​ ัฒนาการ 2) ข้อมูลพ​ ฤติกรรมข​ องเ​ด็กป​ ฐมวัยท​ ีร่​ วบรวมไ​ดต้​ ้องพ​ ิจารณา​
ด้วยค​ วามร​ ะมัดระวัง การ​ระบุห​ รือ​ประณาม​เด็กไ​ม่ว​ ่า​ด้าน​การศ​ ึกษาห​ รือจ​ ิตวิทยาถ​ ือว่าเ​ป็น​อันตราย

       4. 	 ขอบข่าย​การ​วัด​ประเมิน​พัฒนาการ​ด้าน​สติ​ปัญญา​ของ​เด็ก​ปฐมวัย​ครอบคลุม​ความ​สามารถ​ใน​
การเ​รียน​รู้​ของเ​ด็ก​ปฐมวัย เช่น การร​ ับร​ ู้ การ​คิด การ​ใช้ภ​ าษา เป็นต้น (นักศึกษาค​ วร​ให้ร​ าย​ละเอียด​ใน​การ​
ตอบ โดย​ศึกษาท​ ฤษฎีท​ ี่​เกี่ยวก​ ับส​ ติป​ ัญญาข​ องน​ ัก​จิตวิทยาแ​ ละ​นักการศ​ ึกษา​ต่างๆ ใน​ตอนท​ ี่ 9.4 และ​นำ�ม​ า​
กำ�หนด​ขอบข่ายก​ าร​วัดป​ ระเมินพ​ ัฒนาการด​ ้าน​สติป​ ัญญา​ของเ​ด็กป​ ฐมวัย)

       วิธี​การ​วัด​ประเมิน​พัฒนาการ​ด้าน​สติ​ปัญญา​ของ​เด็ก​ปฐมวัย​มี​ทั้ง​วิธี​การ​วัด​ประเมิน​แบบ​เป็น​
ทางการ​ด้วยก​ ารท​ ดสอบ และ​แบบไ​ม่​เป็น​ทางการ เช่น การ​สังเกต การ​สัมภาษณ์ ฯลฯ (นักศึกษาส​ ามารถใ​ห​้
ราย​ละเอียด​วิธี​การ​วัด​ประเมิน​แต่ละ​แบบ และ​ยก​ตัวอย่าง​เครื่อง​มือ​วัด​ประเมิน​ประกอบ​การ​อธิบาย​จะ​ช่วย​
ให้ช​ ัดเจนย​ ิ่งข​ ึ้น)

       ขอ้ ค​ วรต​ ระหนกั ท​ สี​่ �ำ คญั ใ​นก​ ารว​ ดั ป​ ระเมนิ พ​ ฒั นาการด​ า้ นส​ ตป​ิ ญั ญา เชน่ ตอ้ งต​ ระหนกั ว​ า่ เ​ดก็ ป​ ฐมวยั ​
มี​ความ​เข้าใจ​ใน​โลก​รอบ​ตัว แตก​ต่าง​จาก​เด็ก​โต​และ​ผู้ใหญ่ ทั้งนี้ ตาม​ทฤษฎี​พัฒนาการ​ทาง​สติ​ปัญญา​ของ​
​พีอ​ า​เจต์ไ​ด้อ​ ธิบายค​ วาม​คิดข​ องเ​ด็กป​ กติท​ ี่ม​ ีอายุ​ระหว่าง 2-7 ปี ว่าย​ ัง​อยู่ใ​น​ระดับ​ก่อนป​ ฏิบัติ​การ (Preopera-
tional) คือ มีก​ าร​มอง​สถานการณ์​ด้าน​เดียว เด็ก​ปฐมวัย​ยังไ​ม่เ​ข้าใจ​ว่าป​ ริมาณข​ องส​ ารย​ ังค​ ง​มีเ​หมือนเ​ดิม แม​้
รูปร​ ่างจ​ ะเ​ปลี่ยนแปลง​ไป เด็ก​จะ​คิดใ​น​ลักษณะท​ ี่ย​ ึดต​ นเอง​เป็น​ศูนย์กลาง เป็นต้น
   40   41   42   43   44   45   46   47   48