Page 40 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษาและโทรคมนาคมเพื่อการศึกษา
P. 40
9-30
2. วิธีการวัดป ระเมินพัฒนาการด ้านร ่างกายของเด็กป ฐมวัย มีวิธีการว ัดป ระเมินแบบเปน็ ท างการ
โดยใช้แบบทดสอบ เช่น แบบทดสอบมาตรฐานของเดนเวอร์ ซึ่งเป็นแบบทดสอบที่ใช้เป็นแนวทางการ
ตรวจว ดั พ ฒั นาการท างด า้ นร า่ งกายข องเดก็ ต ัง้ แตเ่ กดิ จ นถงึ 6 ปี สว่ นว ธิ กี ารว ดั ป ระเมนิ พ ฒั นาการด า้ นร า่ งกาย
แบบไม่เป็นทางการ ได้แก่ การสังเกตพ ฤติกรรมก ารใช้กล้ามเนื้อใหญ่ การใช้กล้ามเนื้อเล็ก และก ารป ระสาน
สัมพันธ์ ส่วนใหญ่ใช้วิธีก ารสังเกตค วบคู่ไปก ับการบ ันทึกพฤติกรรมขณะเด็กทำ�กิจกรรมประจำ�วัน
3. ข้อควรระวังในการวัดประเมินพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย เช่น 1) พัฒนาการด้าน
ร่างกายเป็นฐ านส ำ�คัญของการพัฒนาด ้านอารมณ์ จิตใจ สังคมและสติปัญญา ข้อมูลท ี่ได้จากการวัดประเมิน
พัฒนาการด ้านร ่างกายจ ึงค วรได้ม าจ ากว ิธีก าร และเครื่องม ือว ัดป ระเมินท ี่ม ีค วามเที่ยง ความต รง และเชื่อถ ือ
ได้ เพื่อให้ข ้อมูลต่างๆ ที่ได้ร ับสามารถประกอบเป็นภ าพที่แท้จริงข องเด็ก 2) การต ีความและการให้เหตุผล
ที่ผิวเผินไม่ถูกต้องในข้อมูลที่แสดงลักษณะอาการที่ผิดปกติทางร่างกายของเด็กปฐมวัย จะทำ�ให้เกิดความ
ผ ิดพลาดทั้งในด้านการด ูแลแก้ไขปัญหา และก ารวางแผนการจ ัดป ระสบการณ์ เป็นต้น
ตอนท ี่ 9.3 การว ดั ประเมินพ ัฒนาการด ้านอ ารมณ์ จิตใจ และสังคมข องเด็กปฐมวัย
แนวต อบก ิจกรรมต อนที่ 9.3
1. ศึกษาพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กปฐมวัย เพื่อนำ�มากำ�หนดพฤติกรรมที่
จะวัดประเมินพัฒนาการด้านนี้ เช่น พัฒนาการด้านสังคม นักศึกษาสามารถนำ�พัฒนาการทางการเล่นของ
พ าร์เทน มาก ำ�หนดพฤติกรรมการเล่นของเด็กป ฐมวัยว่าอยู่ในข ั้นใดได้ เช่น เล่นค นเดียว เล่นคู่ข นาน เล่น
ร่วมกัน เป็นต้น
2. วิธีการวัดประเมินพ ัฒนาการด้านอ ารมณ์ จิตใจ และส ังคมข องเด็กปฐมวัยแบบไม่เป็นท างการ
โดยการสังเกต มีเครื่องมือที่ใช้สังเกต เช่น แบบสังเกตรายการ (Checklist) แบบมาตราส่วนประมาณค่า
(Rating Scales) ฯลฯ ซึ่งควรสังเกตจ ากสถานการณ์จริงท ี่เด็กใช้ช ีวิตประจำ�วัน ได้แก่ การท ำ�กิจกรรมต่างๆ
ของเด็ก การส ังเกตอ าจเลือกส ังเกตวันละค น แล้วจดบันทึกพฤติกรรมท ี่พบเห็นห รือตรวจส อบ ตามรายการ
ที่มีอยู่ การสังเกตค วรใช้วิธีสุ่มเวลา เช่น สังเกต 5 นาทีแ ล้วหยุดพัก 5 นาที แล้วจ ึงส ังเกตต ่อไปใหม่เช่นน ี้
ตลอดวัน แล้วนำ�ข้อมูลม าพิจารณาไว้เป็นห ลักฐ านต ่อไปห รือต รวจสอบต ามร ายการพ ฤติกรรมท ี่มีอยู่
3. คำ�พูดที่ว่า “การวัดประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กปฐมวัยถือเป็น
เรื่องซับซ ้อน” นั้น น่าจะเป็นจริง เนื่องจากพฤติกรรมห ลายพ ฤติกรรมไม่สามารถสังเกตได้ทันที และบางค รั้ง
พฤติกรรมที่เด็กแสดงออกนั้นยากต่อการให้ข้อสรุป ผู้ประเมินต้องมีความรู้ ความเข้าใจในพัฒนาการด้าน
อารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กป ฐมวัยเป็นอย่างดี และต้องอ าศัยความไวที่ม ีต ่อพ ฤติกรรมเด็กปฐมวัยทั้ง
ในด ้านท ี่เป็นพ ัฒนาการแ ละด้านที่เป็นไปตามเกณฑ์ปกติ