Page 35 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษาและโทรคมนาคมเพื่อการศึกษา
P. 35
9-25
เรอ่ื งท ี่ 9.4.1 ขอบขา่ ยก ารว ดั ประเมนิ พ ฒั นาการด า้ นส ตปิ ัญญา
ของเด็กปฐมวัย
สาระส ังเขป
พัฒนาการด้านสติปัญญาเป็นความสามารถในการเรียนรู้ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งต่างๆ
กับตนเอง การรับรู้ การรู้คิด การใช้ภาษาสื่อสาร ความคิดสร้างสรรค์ ซึ่งมีนักจิตวิทยาพัฒนาการและ
นักการศ ึกษาได้ศ ึกษาพ ัฒนาการท างส ติป ัญญา และน ำ�เสนอท ฤษฎีพ ัฒนาการท างส ติป ัญญาข องเด็กป ฐมวัย
ทำ�ให้เห็นขอบข่ายก ารวัดประเมินพ ัฒนาการด ้านนี้ เช่น ทฤษฎีพ ัฒนาการทางส ติป ัญญาของพ ีอ าเจต์ ทฤษฎี
พัฒนาการทางการคิดข องเจโรม บรูเนอร์ ฯลฯ
งานท ้าทายน ักจ ิตวิทยาค ือ ทำ�อ ย่างไรจ ึงจ ะท ราบว ่าแ ต่ละค นม ีค วามส ามารถอ ะไรบ ้าง ปัญหาเหล่าน ี้
ได้หมดไป เมื่อนักคณิตศาสตร์ได้คิดวิธีการทางสถิติที่เรียกว่าการวิเคราะห์องค์ประกอบขึ้น นักจิตวิทยา
นำ�วิธีการนี้ไปต รวจสอบด ูว ่า สติป ัญญาของบ ุคคลมีกี่องค์ประกอบ อะไรบ ้าง ทั้งนี้ เพื่อจะได้ส ร้างเครื่องมือ
ขึ้นมาตรวจสอบสติปัญญาตามองค์ประกอบนั้น เช่น เธอร์สโตน (Thurstone) ได้นำ�เสนอทฤษฎีหลาย
องค์ประกอบ และพิจารณาสติปัญญาของมนุษย์ ว่าประกอบด้วยความสามารถ 7 องค์ประกอบ ได้แก่
1) ความเขา้ ใจท างภ าษา 2) ความค ลอ่ งในก ารใชค้ �ำ 3) ความส ามารถด า้ นต วั เลข 4) ความส ามารถด า้ นม ติ สิ มั พนั ธ์
5) ความสามารถด้านความจำ� 6) ความเร็วในการรับรู้ และ 7) ความสามารถด้านเหตุผล ส่วนกิลฟอร์ด
(Guilford) ได้เสนอทฤษฎีโครงสร้างสามมิติของสติป ัญญาโดยใช้วิธีวิเคราะห์ความสัมพันธ์ข องคุณลักษณะ
ประกอบด ้วย มิตทิ ่ี 1 ด้านวิธีก ารค ิด เป็นกร ะบ วนการท างส มองที่เริ่มจ ากง ่ายไปห ายาก โดยม ีส่วนป ระกอบ
5 ขั้น คือ 1) การร ู้ การเข้าใจ 2) ความจ ำ� 3) การคิดแ บบอเนกน ัย 4) การค ิดแบบเอกนัย 5) การป ระเมิน
มิตทิ ่ี 2 ด้านเนื้อหา หมายถึง สิ่งเร้าต ่างๆ ที่ก่อให้เกิดการค ิดห รือความรู้สึกที่ส ามารถตอบส นองได้ แบ่งได้
เป็น 5 ประเภท คือ 1) สิ่งท ี่มองเห็น 2) สิ่งท ี่ได้ยิน 3) สัญลักษณ์ 4) ภาษา 5) พฤติกรรม และมติ ทิ ี่ 3 ผลข อง
การคิด หมายถึง ผลที่เกิดจากการรับเอาสิ่งเร้าหรือข้อมูลในมิติที่ 2 เข้ามาไว้ในสมอง แล้วใช้กระบวนการ
คิดทั้ง 5 ขั้นในมิติท ี่ 1 ผลิตผลของการค ิดออกม าในร ูปต ่างๆ กัน ตั้งแต่เป็นหน่วย จนถึงก ารประยุกต์แบ่ง
ออกเป็น 6 ประเภท คือ 1) หน่วย 2) จำ�พวก 3) ความส ัมพันธ์ 4) ระบบ (Systems) 5) การแปลงร ูป และ
6) การประยุกต์
(โปรดอ า่ นเนือ้ หาส าระโดยละเอียดในป ระมวลส าระช ดุ วิชาหน่วยท ่ี 9 ตอนที่ 9.4 เรอื่ งที่ 9.4.1)