Page 30 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษาและโทรคมนาคมเพื่อการศึกษา
P. 30
9-20
เรอ่ื งท ่ี 9.3.1 ขอบขา่ ยก ารว ดั ป ระเมินพัฒนาการด้านอ ารมณ์ จติ ใจ
และสังคมของเด็กป ฐมวัย
สาระส ังเขป
พัฒนาการด้านอารมณ์ในช่วงอายุ 4-5 ปี เป็นช่วงอายุของการเริ่มต้นพัฒนาความสามารถในการ
รับร ูค้ วามร ู้สึกข องผ ูอ้ ื่น (Empathy) ส่วนค วามเข้าใจในต นเองข องเด็ก หรือค วามค ิดร วบย อดเกี่ยวก ับต นเอง
(Self concept) รวมท ั้งค วามเชื่อมั่นในต นเอง (Self esteem) ของเด็กจ ะเห็นได้ในช่วงอ ายุ 4-5 ปี เมื่อเด็ก
มีความรู้สึกเป็นอิสระ เห็นได้จากการที่เด็กเริ่มพูดเกี่ยวกับความสามารถของตนเองด้านร่างกาย เด็กอาจ
บรรยายเกี่ยวก ับตนเองโดยเชื่อมโยงไปย ังอ ายุและส ิ่งที่ต นเองเป็นเจ้าของ
สว่ นพ ฒั นาการด า้ นจ ติ ใจเปน็ ค ณุ ธรรมท สี่ �ำ คญั ย ิง่ ซึง่ ส ามารถถ า่ ยทอดไดโ้ ดยผ า่ นก ระบวนการส งั คม
ประกิต (Socialization) ตลอดจนก ารอบรมส ั่งสอนของพ ่อแ ม่ ยิ่งเด็กได้รับก ารอบรมให้มีคุณธรรม หรือม ี
จริยธรรมเมื่ออายุน้อยเพียงใด ก็ย ิ่งทำ�ให้เด็กมีคุณธรรมและจริยธรรมฝังแน่นม ากขึ้นเพียงน ั้น
สำ�หรับพัฒนาการด้านสังคมมีความสำ�คัญและจำ�เป็นอย่างยิ่งสำ�หรับชีวิตในปัจจุบัน เพราะมนุษย์
เป็นสัตว์สังคม และพบว่าบุคคลที่มีความสามารถในการเข้าสังคม เช่น เข้ากลุ่มเพื่อนได้ดี รู้จักแบ่งปัน
ช ่วยเหลือ มีน ํ้าใจ หรือม ีล ักษณะเป็นผ ู้นำ� แสดงถ ึงก ารม ีพ ัฒนาการด ้านส ังคมท ี่ด ี แต่พ ัฒนาการเหล่าน ี้จ ะเกิด
ขึ้นได้จำ�เป็นต้องส่งเสริมและสนับสนุนตั้งแต่เยาว์วัยและผู้ใหญ่ต้องทำ�ตัวให้เป็นแบบอย่างที่ดี สร้างเสริม
ประสบการณต์ ่างๆ ใหเ้ด็กร ู้จักแ กป้ ัญหาแ ละป รับต ัวใหเ้ข้าก ับก ลุ่มเพื่อน อันเป็นพ ื้นฐ านส ำ�คัญข องพ ัฒนาการ
ด้านสังคม การเข้าเล่นกับกลุ่มเพื่อนท ำ�ให้เด็กได้แลกเปลี่ยนความคิด ลดก ารย ึดต นเองเป็นศ ูนย์กลาง และ
สร้างค วามเชื่อม ั่นใหก้ ับต นเอง การท ีเ่ด็กไดม้ ปี ฏิสัมพันธก์ ับเด็กอ ื่น หรือบ ุคคลท ั่วไปอ ยูเ่สมอ เป็นการพ ัฒนา
พฤติกรรมและบุคลิกภาพ เพื่อการเข้าส ังคมที่ดีในอนาคต
พัฒนาการทางส ังคมข องม นุษย์ข ึ้นอยู่ก ับอ ายุ ซึ่งค ่อยๆ พัฒนาไปต ามธ รรมชาติ นักจ ิตวิทยาห ลาย
ท่านที่กล่าวถึงพัฒนาการทางสังคมของเด็กปฐมวัยที่มีลำ�ดับขั้นตอน พัฒนาไปตามวัย มีหลายทฤษฎี เช่น
ทฤษฎีพัฒนาการทางจิตสังคมของอีริคสัน ทฤษฎีพัฒนาการทางสังคมระหว่างบุคคลของซัลลิแวน ทฤษฎี
การเรียนร ู้ทางส ังคมข องแบนดูรา และพัฒนาการทางการเล่นของพ าร์เทน
(โปรดอ่านเน้ือหาสาระโดยล ะเอยี ดในประมวลสาระช ุดว ชิ าห นว่ ยท่ี 9 ตอนท ี่ 9.3 เรอ่ื งท ี่ 9.3.1)