Page 25 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษาและโทรคมนาคมเพื่อการศึกษา
P. 25
9-15
เรือ่ งท ่ี 9.2.2 วิธกี ารวัดป ระเมินพ ัฒนาการด า้ นร า่ งกาย
ของเด็กป ฐมวัย
สาระสงั เขป
การวัดประเมินพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัยควรมีการตรวจสอบทั้งด้านสุขภาพและ
อนามัย โดยยึดวิธีการสังเกตเป็นส่วนใหญ่ควบคู่ไปกับการบันทึกพฤติกรรมหรือใช้การสัมภาษณ์เด็กและ
ผู้ป กครอง
สำ�หรับพัฒนาการด ้านก ล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และก ารป ระสานส ัมพันธ์ มีวิธีการว ัดประเมิน
ทั้งแ บบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
วิธีการวัดประเมินพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสานสัมพันธ์แบบเป็น
ทางการ เช่น การใช้แ บบท ดสอบม าตรฐานข องเดนเวอร์ (Denver) คือ Denver Developmental Screening
Test (DDST) ซึ่งเป็นแบบทดสอบที่ใช้เป็นแนวทางการตรวจวัดพัฒนาการทางด้านร่างกายของเด็กตั้งแต่
เกิดจ นถึง 6 ปี หรือแบบทดสอบม าตรฐาน McCarthy Scales of Children’s Abilities แบบท ดสอบนี้ใช้
สังเกตการแ สดงออกของเด็กป ฐมวัยท างด ้านร่างกาย คือ การประสานสัมพันธ์ของขา การประสานสัมพันธ์
ของม ือ การเลียนแ บบ การอ อกแบบและการวาดภาพ การท ำ�งานประสานสัมพันธ์ของขา การทำ�งานป ระสาน
สัมพันธ์ก ันข องแ ขน
วิธีการวัดประเมินพัฒนาการด้านกล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการประสานสัมพันธ์ แบบ
ไม่เป็นทางการ ได้แก่ การสังเกตพฤติกรรมการใช้กล้ามเนื้อใหญ่ของเด็กปฐมวัยขณะเล่นในกิจกรรม
กลางแ จ้ง กิจกรรมเคลื่อนไหวจ ังหวะ ส่วนว ิธีการวัดและป ระเมินพ ัฒนาการท างการใช้ก ล้ามเนื้อเล็กและการ
ประสานสัมพันธ์แบบไม่เป็นทางการนั้น ส่วนใหญ่ใช้วิธีการสังเกตควบคู่ไปกับแบบบันทึกพฤติกรรมและ
การจัดก ิจกรรมให้เด็กได้ล งมือก ระทำ� เช่น การจ ัดกิจกรรมการป ั้น การว าดภาพ การตัดกระดาษ การร ้อย
ลูกปัด การต่อบ ล็อก เป็นต้น กิจกรรมเหล่านี้ครูจ ัดให้เด็กได้ล งมือก ระทำ�ในสถานการณ์เหมือนให้เด็กเล่น
ตามธ รรมชาติ แล้วครูส ังเกตจ ดบ ันทึกพ ฤติกรรมว่าเด็กม ีพ ัฒนาการทางด ้านกล้ามเนื้อเล็กและการป ระสาน
สัมพันธ์เป็นอย่างไร
(โปรดอ ่านเน้ือหาส าระโดยละเอยี ดในป ระมวลสาระช ดุ วิชาหนว่ ยท่ี 9 ตอนท่ี 9.2 เรอ่ื งท ่ี 9.2.2)