Page 24 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษาและโทรคมนาคมเพื่อการศึกษา
P. 24
9-14
เรื่องท ี่ 9.2.1 ขอบข่ายการวดั ประเมินพ ัฒนาการด้านร ่างกาย
ของเด็กปฐมวยั
สาระส ังเขป
พัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย จะปรากฏในด้านการเจริญเติบโต และความสามารถใน
การใช้อวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ทั้งกล้ามเนื้อใหญ่ กล้ามเนื้อเล็ก และการป ระสานสัมพันธ์ เมื่อร่างกายค น
เราเปลี่ยนแปลงย่อมแสดงให้เห็นถึงการเจริญเติบโตและพัฒนาการด้านร่างกายของเด็กปฐมวัย การเจริญ
เติบโต หมายถึง การเปลี่ยนแปลงขนาดปริมาณ ซึ่งสามารถวัดเป็นตัวเลข เช่น ความสูง นํ้าหนัก เส้นรอบ
ศีรษะ และฟันที่ขึ้น สำ�หรับพัฒนาการเป็นการเปลี่ยนแปลงเช่นกันแต่เป็นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพใน
ทางท ี่ด ีขึ้น ซับซ ้อนขึ้น และป ระสานสัมพันธ์กันมากขึ้น พัฒนาการข องแต่ละบ ุคคลจ ะมีล ักษณะเดียวกัน แต่
อัตราและระยะเวลาในการผ่านขั้นตอนต่างๆ อาจต่างกันได้ และจะดำ�เนินไปอย่างต่อเนื่อง โดยขั้นต้นเป็น
พื้นฐ านสำ�หรับขั้นต่อไป
ขอบขา่ ยพ ฒั นาการด า้ นร า่ งกายจ ะค รอบคลมุ ค วามส ามารถข องร า่ งกายในก ารท รงตวั การเคลือ่ นไหว
เคลื่อนที่ไปโดยใช้กล้ามเนื้อใหญ่ เช่น นั่ง ยืน เดิน วิ่ง กระโดด เป็นต้น การใช้ส ัมผัสรับร ู้และการใช้ต าแ ละ
มือประสานส ัมพันธ์ก ันในการท ำ�กิจกรรมต่างๆ เป็นการใช้ก ล้ามเนื้อเล็ก เช่น การใช้ม ือหยิบจับ การขีดเขียน
เป็นตน้ พฒั นาการด า้ นร ่างกายท ัง้ ก ารป ระสานส มั พันธก์ ันข องก ล้ามเนื้อใหญ่ และก ล้ามเนื้อเล็กในช ว่ งป ฐมวัย
จะเริ่มต น้ ด ้วยป ฏิกิรยิ าส ะทอ้ น ซึ่งแ สดงออกท างพ ฤตกิ รรม เชน่ ไขวค่ ว้า ก�ำ ม ือ ฯลฯ ต่อม าเป็นการเคลือ่ นไหว
ขั้นต ้น เช่น เดิน วิ่ง ฯลฯ ตามด้วยการเคลื่อนไหวพ ื้นฐาน เช่น กระโดด วิ่ง ฯลฯ และก ารเคลื่อนไหวที่น ำ�ไป
สู่การกีฬา เช่น ก้าวกระโดด ขว้าง เป็นต้น ในข ณะท ี่ค วามส ามารถในง านที่ต้องเคลื่อนไหวโดยใช้ก ล้ามเนื้อ
เล็ก ทำ�ให้เด็กใช้น ิ้วต่างๆ และน ิ้วห ัวแม่ม ือได้อย่างประสานส ัมพันธ์กันเมื่อฉวยหยิบจับสิ่งต่างๆ และค วาม
คล่องแคล่วในการใช้มือ จนเมื่อเด็กอายุ 5 ปี ความส ามารถดังก ล่าวช ่วยให้เด็กใช้สีเทียน พู่กัน ร้อยลูกปัด
ปักห มุดก ระดาน และส ิ่งข องเล็กๆ แต่งต ัวแ ละถ อดเสื้อผ้าได้อ ย่างม ีป ระสิทธิภาพ รวมท ั้งม ีค วามค ล่องแคล่ว
ในการต่อภาพชิ้นส่วนต่างๆ หรือติดก ระดุม รูดซ ิบ เล่นจัดกลุ่มบัตรภ าพ เขียนตัวห นังสือแ ละต ัวเลขทั้งๆ ที่
ทักษะด้านนี้อ าจจะพัฒนาได้น้อย
(โปรดอ ่านเน้ือหาสาระโดยล ะเอยี ดในประมวลสาระชดุ วิชาหนว่ ยที่ 9 ตอนที่ 9.2 เร่ืองท ี่ 9.2.1)