Page 32 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษาและโทรคมนาคมเพื่อการศึกษา
P. 32
9-22
เร่ืองที่ 9.3.3 ขอ้ คิดก ารวดั ป ระเมนิ พฒั นาการด า้ นอารมณ์ จติ ใจ
และสงั คมข องเดก็ ป ฐมวัย
สาระสังเขป
การว ดั ป ระเมนิ พ ฒั นาการด า้ นอ ารมณ์ จติ ใจ และส งั คมข องเดก็ ป ฐมวยั ถ อื เปน็ เรือ่ งซ บั ซ อ้ น เนือ่ งจาก
พฤติกรรมห ลายพ ฤติกรรมไม่ส ามารถส ังเกตได้ท ันที และบ างค รั้งพ ฤติกรรมท ี่เด็กแ สดงออกน ั้นย ากต ่อก าร
ให้ข ้อสรุป จึงมีข ้อคิดสำ�หรับก ารว ัดป ระเมินพัฒนาการด ้านน ี้ ตัวอย่างเช่น
1. ผวู้ ดั ป ระเมนิ ต อ้ งม คี วามร ู้ ความเขา้ ใจในพ ฒั นาการด า้ นอ ารมณ์ จติ ใจ และส งั คมข องเดก็ ป ฐมวยั
รวมทั้งต้องฝ ึกก ารสังเกตและบันทึกพ ฤติกรรมเด็กม าอย่างด ี
2. การวัดประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคมของเด็กปฐมวัยต้องอาศัยเครื่องมือ
วิธีการ และแ หล่งที่มาข องข้อมูลด้านนี้อย่างหลากห ลายแ ละเที่ยงต รง โดยย ึดก ารสังเกตเป็นฐาน ปราศจาก
อคติในด้านภ าษาและว ัฒนธรรมข องเด็ก
3. พฤติกรรมเป้าหมายบ างอ ย่างอาจไม่เกิดขึ้นในเวลาท ี่ส ังเกต จึงเป็นหน้าที่ของผู้วัดป ระเมินท ี่จะ
ต้องสังเกตเด็กต่อไปเพื่อให้ได้พฤติกรรมต ามเป้าห มาย
4. เครื่องม ือวัดป ระเมินพ ัฒนาการด้านอ ารมณ์ จิตใจ และส ังคมของเด็กปฐมวัยส่วนใหญ่ย ังไม่ได้
รับก ารพัฒนาให้เป็นมาตรฐานจึงค วรต้องระมัดระวังในการเลือกใช้เครื่องมือ
5. ข้อมูลพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยด้านอารมณ์ จิตใจ และสังคมที่รวบรวมได้ต้องพิจารณาด้วย
ความระมัดระวัง การร ะบุห รือประณามเด็กไม่ว่าด ้านก ารศ ึกษาหรือจ ิตวิทยาถ ือว่าเป็นอันตรายย ิ่ง
6. เด็กป ฐมวัยมีลักษณะที่ย ึดตนเองเป็นศูนย์กลาง มีก ารรับร ู้เฉพาะตนแตกต ่างจากเด็กโต และม ี
ความล ำ�บากในก ารแ สดงค วามค ิดแ ละค วามร ู้สึกด ้วยค ำ�พ ูด เด็กอ าจย ังไมส่ ามารถใหข้ ้อมูลท างการส ัมภาษณ์
ที่เชื่อถือได้ การให้เด็กสะท้อนความคิด ความร ู้สึกออกมาทางการพ ูดค ุยเพียงอย่างเดียวจ ึงไม่เพียงพ อ
(โปรดอ่านเน้ือหาส าระโดยละเอยี ดในประมวลสาระช ุดว ิชาห น่วยท ่ี 9 ตอนท่ี 9.3 เรอื่ งท ่ี 9.3.3)