Page 39 - หลักการและแนวคิดทางการปฐมวัยศึกษาและโทรคมนาคมเพื่อการศึกษา
P. 39

9-29

แนว​ตอบก​ จิ กรรม​หนว่ ยท​ ่ี 9

การว​ ดั ป​ ระเมิน​พัฒนาการเ​ด็กป​ ฐมวัย

ตอนท​ ี่ 9.1 แนวคดิ เกยี่ วกับ​การ​วดั ป​ ระเมนิ ​พฒั นาการเ​ด็กป​ ฐมวยั

แนว​ตอบ​กจิ กรรม​ตอนท​ ่ี 9.1
       1. 	 การ​วัด​ประเมิน​ใน​ความ​หมายก​ว้าง​ต่าง​กับ​ความ​หมาย​แคบ คือ ใน​ความ​หมายก​ว้าง​หมาย​ถึง​

กระบวนการข​ องก​ ารว​ ดั แ​ ละก​ ารป​ ระเมนิ เ​ดก็ ป​ ฐมวยั ซึ่งบ​ างค​ รัง้ อ​ าจถ​ กู ใ​ชใ​้ นค​ วามห​ มายข​ องก​ ารว​ ัดพ​ ฤตกิ รรม​
การ​แสดงออก​ของ​เด็ก หรือ​เพื่อ​หลีก​เลี่ยง​คำ�​อธิบาย​ที่​เป็น​ทาง​ลบ​ของ​แบบ​ทดสอบ​หรือ​การ​ทดสอบ ส่วน​
ใน​ความ​หมาย​แคบ​หมาย​ถึง การ​ทดสอบ หรือ​การ​วัด​ด้วย​เครื่อง​มือ​แบบ​ต่างๆ รวม​ทั้ง​การ​สังเกต การ​
สัมภาษณ์ และ​การ​รายงาน​โดย​บันทึก​ข้อมูล​ที่​ได้​จาก​แหล่ง​ต่างๆ และ​นำ�​ข้อมูล​ที่​ได้​มา​ใช้​ใน​การ​วางแผน​การ​
จัด​ประสบการณ์

       2. 	 หลัก​การว​ ัด​ประเมินท​ ี่​เหมาะ​กับ​เด็ก​ปฐมวัย เช่น 1) เป็นการ​วัด​ประเมินท​ ี่​ทำ�ให้​เด็กป​ ฐมวัย​ได้​รับ​
ประโยชน์ส​ ูงสุด 2) มี​จุดม​ ุ่ง​หมาย​เฉพาะ​และ​ใช้​เครื่องม​ ือ​ที่​มีค​ วามเ​ที่ยง และค​ วาม​ตรง 3) เนื้อหาแ​ ละ​วิธี​การ​
เก็บ​ข้อมูลต​ ้องเ​หมาะก​ ับ​วัย 4) เป็นการว​ ัด​ประเมิน​ตาม​สภาพจ​ ริง เป็นต้น

       3. 	 การว​ ัดป​ ระเมินเ​ด็กป​ ฐมวัยม​ ี 2 ประเภท คือ การว​ ัดป​ ระเมินแ​ บบเ​ป็นท​ างการ เป็นการว​ ัดป​ ระเมิน​
ที่​เน้น​ผล​เชิง​ปริมาณ โดย​มี​เครื่อง​มือ​ที่​ใช้​ใน​การ​วัด ได้​ค่า​ออก​มา​เป็น​ตัวเลข​หรือ​คะแนน และ​นำ�​ตัวเลข​หรือ​
คะแนน​นั้น​มา​สรุป เพื่อ​แสดง​พัฒนาการ​ใน​แต่ละ​ด้าน เครื่อง​มือ​วัด ได้แก่ แบบ​ทดสอบ​ต่างๆ ส่วน​การ​วัด​
ประเมินแ​ บบไ​ม่เ​ป็นท​ างการ เป็นการว​ ัดป​ ระเมินท​ ี่ไ​ม่เ​น้นผ​ ลก​ ารป​ ระเมินเ​ชิงป​ ริมาณท​ ี่เ​ป็นต​ ัวเลขห​ รือค​ ะแนน
ใช้ก​ าร​สังเกต การส​ นทนา การส​ ัมภาษณ์ การร​ วบรวมผ​ ลง​ าน​ที่​แสดงออกถ​ ึง​ความ​ก้าวหน้า​ของเ​ด็ก​ราย​บุคคล
เครื่อง​มือ​ที่​ใช้ เช่น แบบ​สังเกต แบบ​บันทึกพ​ ฤติกรรม แบบ​สัมภาษณ์ ฯลฯ

ตอนท​ ่ี 9.2 การว​ ดั ป​ ระเมนิ ​พัฒนาการ​ดา้ นร​ ่างกาย​ของเ​ด็กป​ ฐมวยั

แนว​ตอบก​ จิ กรรม​ตอนท​ ่ี 9.2
       1. 	 ขอบข่ายก​ ารว​ ัดป​ ระเมินพ​ ัฒนาการด​ ้านร​ ่างกายข​ องเ​ด็กป​ ฐมวัย ประกอบด​ ้วย การว​ ัดค​ วามเ​จริญ​

เติบโต เช่น นํ้าห​ นัก ส่วนส​ ูง ฯลฯ การด​ ูแลร​ ักษาส​ ุขภาพอ​ นามัย ตลอดจ​ นก​ ารเ​คลื่อนไหวโ​ดยใ​ชก้​ ล้ามเ​นื้อใ​หญ่
เช่น การ​เดิน การว​ ิ่ง การกร​ ะ​โดด ฯลฯ การใ​ช้​กล้าม​เนื้อ​เล็ก และก​ าร​ประสาน​สัมพันธ์ข​ อง​กล้าม​เนื้อ เช่น การ​
ใช้​กรรไกร การ​ร้อยล​ ูกปัด การต​ ่อภ​ าพ ฯลฯ
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44