Page 72 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 72
8-62 ศลิ ปะกับสงั คมไทย
พระนพิ พานสำ�ราญใจ” จะเห็นได้ว่าคำ�เทศนาของพระโยคนี ้ี หากสามารถนำ�ไปปฏิบตั ไิ ดจ้ ริงแล้ว สังคม
กจ็ ะดำ�รงอย่ไู ด้อยา่ งสงบร่มเยน็
กลา่ วโดยสรปุ แลว้ ความเชอ่ื เกยี่ วกบั พทุ ธศาสนาทปี่ รากฏในวรรณกรรมนบั ไดว้ า่ เปน็ แนวความคดิ
ส�ำ คัญในการส่งเสริมใหค้ นทำ�ความดี ละเวน้ จากการท�ำ ช่ัว เพ่อื ให้สงั คมเกิดความปกตสิ ขุ เรยี บรอ้ ย ท้งั น้ี
การแสดงหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาผ่านการดำ�เนินเรื่อง หรือผ่านทางพฤติกรรมของตัวละครใน
วรรณกรรมก็เปรียบเสมือนกับการฉายภาพตัวอย่างให้ผู้อ่านผู้ฟังได้รับชมและรับรู้ซึมทราบหลักธรรมน้ัน
ดว้ ยตนเอง ซึ่งจะทำ�ใหผ้ อู้ ่านผฟู้ งั เขา้ ใจหลกั ธรรมตา่ งๆ ได้ดีย่งิ ขึ้น
กิจกรรม 8.2.3
1. ตามความเชอ่ื ของคนไทย พระเสื้อเมืองเป็นเทวดาทม่ี หี น้าที่สำ�คัญอะไร
2. ตามความเช่อื ของคนไทย อาการเขม่นตาเป็นลางบอกเหตุอะไร
3. ความเชอื่ ทางไสยศาสตรท์ ปี่ รากฏในวรรณกรรมมอี ะไรบา้ ง ยกตัวอยา่ งมา 2 ลกั ษณะ
4. “จะติดตามทรามสงวนนวลละออง เป็นคู่ครองพิศวาสทุกชาติไป” บทประพันธ์นี้แสดงให้เห็น
ความเช่อื เกย่ี วกับพุทธศาสนาเรอื่ งใด
แนวตอบกจิ กรรม 8.2.3
1. ตามความเช่ือของคนไทย พระเสื้อเมืองเป็นเทวดาที่มีหน้าที่สำ�คัญในการปกป้องคุ้มครองและ
รกั ษาบ้านเมอื งให้มคี วามปกติสุขเรียบร้อย
2. ตามความเชื่อของคนไทย อาการเขม่นตาเป็นลางบอกเหตุว่าอาจเกิดเหตุร้ายกับญาติพ่ีน้องหรือ
คนใกล้ชิด
3. ความเชื่อทางไสยศาสตร์ท่ีปรากฏในวรรณกรรมไทยท่ีสำ�คัญ เช่น การสะกด การเสกเป่า และ
การท�ำ เสน่ห์
4. บทประพันธข์ า้ งตน้ แสดงให้เห็นความเช่ือเกี่ยวกับพุทธศาสนาเรื่องการเวยี นว่ายตายเกดิ