Page 68 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 68
8-58 ศลิ ปะกับสังคมไทย
รปู น้จี งฝงั ไว้ใต้ทีน่ อน ไม่ข้ามวันกจ็ ะรอ่ ยลงมาหา
แลว้ เสกแป้งนํ้ามันจันทน์ทา ประสมดว้ ยว่านยานํา้ มันพราย
(ขนุ ชา้ งขนุ แผน เล่ม 2. 2544: 282-283)
วธิ กี ารท�ำ เสนห่ ข์ องเถนขวาดนนั้ เปน็ วธิ กี ารทเี่ รยี กวา่ “การฝงั รปู ฝงั รอย” โดยเถนขวาดไดน้ �ำ ขผี้ งึ้
ปากผีกบั เถา้ พรายท่ไี ด้ลงอาคมมาปนั้ เป็นหนุ่ แทนตัวของพระไวย นางศรีมาลา และนางสร้อยฟา้ โดยให้
หุ่นพระไวยกับหุ่นนางศรีมาลาหันหลังชนกัน นำ�เข็มมาทิ่มแทงแล้วนํามามัดตราสัง ลงยันต์ และพันด้วย
ใบเตา่ รง้ั จากน้นั จึงนำ�ไปฝงั ทปี่ ่าชา้ เพื่อให้พระไวยเสอื่ มความรักในนางศรีมาลา ในขณะทเี่ ถนขวานก็ปัน้
หุ่นรปู พระไวยและนางสรอ้ ยฟ้าหันหน้ากอดกัน รดั พนั ดว้ ยสายสิญจนแ์ ละใบรัก แล้วบริกรรมคาถาเพอ่ื ให้
พระไวยต้องเสนห่ ์ และให้นางสรอ้ ยฟา้ น�ำ หุ่นน้ไี ปไว้ใตท้ นี่ อน นอกจากน้ี ยงั มอบแป้งเสกและนาํ้ มนั จันทน์
ทป่ี ระสมดว้ ยยาเสนห่ ต์ า่ งๆ ทงั้ วา่ นยาและนาํ้ มนั พรายใหแ้ กน่ างสรอ้ ยฟา้ ดว้ ย เพอื่ ใหพ้ ระไวยหลงเสนห่ น์ าง
มากย่ิงข้ึน การทำ�เสน่ห์ดังกล่าวถือเป็นเร่ืองผิดกฎหมายในสมัยโบราณ ดังน้ันเม่ือเร่ืองดังกล่าวถูก
เปดิ เผยขึ้น นางสร้อยฟา้ จงึ ต้องไดร้ ับโทษถูกเนรเทศออกไปจากกรงุ ศรอี ยธุ ยา
กล่าวโดยสรุปแล้ว ความเช่ือเร่ืองไสยศาสตร์เป็นความเช่ือท่ีฝังรากอยู่ในสังคมไทยมาช้านาน
ทำ�ให้ปรากฏบทบาทในวรรณกรรมไทยอยู่ไม่น้อย ซึ่งมีส่วนสำ�คัญในการสร้างความน่าสนใจให้แก่
เนื้อเรื่อง เพราะอำ�นาจของไสยเวทเป็นเรื่องอัศจรรย์ที่ทำ�ให้ผู้เขียนผู้ฟังรู้สึกเพลิดเพลินและอยากติดตาม
เร่ืองราวมากยิง่ ข้ึน
4. ความเช่ือเกย่ี วกบั พุทธศาสนา
ความเชื่อเก่ียวกับพุทธศาสนาเป็นความเชื่อสำ�คัญอีกความเชื่อหนึ่งท่ีกวีได้แสดงให้เห็นผ่านทาง
วรรณกรรม ทง้ั น้ี เพราะคนไทยมคี วามผกู พนั และนบั ถอื พระพทุ ธศาสนามาเปน็ เวลาชา้ นาน จนน�ำ หลกั ธรรม
ทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้ในชีวิตประจำ�วันและยึดถือหลักทางพระพุทธศาสนาเป็นแนวทางในการ
ดำ�เนินชีวิต ความเช่ือเก่ียวกับพุทธศาสนาท่ีปรากฏในวรรณกรรมไทยมีอยู่เป็นจำ�นวนมากและปรากฏใน
วรรณกรรมหลายเร่ือง ในท่ีน้ี ขอยกตัวอย่างความเชื่อเก่ียวกับพุทธศาสนา เฉพาะในประเด็นความเชื่อ
เรือ่ งบญุ บาปและกรรม ความเชื่อเร่ืองการเวยี นวา่ ยตายเกดิ และความเช่อื เร่อื งนรก สวรรค์ และนิพพาน
ซงึ่ มีรายละเอยี ดดังนี้
4.1 ความเชื่อเรื่องบุญ บาป และกรรม บุญเป็นการกระทำ�ดีของบุคคลตามหลักคำ�สอนในศาสนา
บาปเป็นการกระทำ�ผิดหลักคำ�สอนหรือข้อห้ามในศาสนา และกรรมเป็นการกระทำ�ท่ีประกอบด้วยเจตนา
ไม่ว่าจะเป็นเรื่องดีหรือเป็นเรื่องชั่วก็ตาม ความเชื่อเร่ืองบุญ บาป และกรรมนั้นเป็นความเชื่อพ้ืนฐาน
ของคนในสงั คมไทย คนไทยมคี วามเชอื่ วา่ บญุ และบาปกอ่ ใหเ้ กดิ กรรมซง่ึ เปน็ สง่ิ ทบี่ นั ดาลใหเ้ กดิ ทง้ั ความสขุ
และความทุกข์ หากผู้ใดกระทำ�บุญก็จะเกิดกรรมดีทำ�ให้มีความสุข ผู้ใดกระทำ�บาปก็จะเกิดกรรมช่ัว
ท�ำ ให้เปน็ ทุกข์ นอกจากน้ี ยังมีความเช่อื ว่าบุญและบาปกอ่ ใหเ้ กดิ กรรมอันอาจเป็นผลพวงจากการกระท�ำ
ในภพชาติท่ีแล้วทั้งยังอาจส่งผลไปสู่ภพชาติหน้าอีกด้วย ความเชื่อเร่ืองบุญ บาป และกรรมปรากฏใน
วรรณกรรมไทยหลายเรื่อง เช่น เรื่องลิลิตพระลอ เมื่อพระลอต้องเสน่ห์ของพระเพ่ือนพระแพง พระนาง