Page 69 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 69

วรรณกรรมกบั สงั คมไทย 8-59
บุญเหลือ พระมารดาของพระลอได้ร้องขอมิให้พระลอทอดท้ิงเมืองและภาระหน้าที่ของตนเพื่อเดินทางไป
หาพระเพ่ือนพระแพง พระลอจงึ ไดต้ อบต่อพระมารดาว่าทุกอย่างเป็นเรอื่ งของกรรมทตี่ นไม่อาจหลกี เลย่ี ง
ได้ ดงั ท่ีพระลอกลา่ ววา่

	 	 ถงึ กรรมจกั อยไู่ ด้ 	  	  ฉนั ใด พระเอย     (ลลิ ติ พระลอ. 2543: 44)
กรรมบ่มมี ใี คร 	 	         	  ฆา่ ขา้
กศุ ลสง่ สนองไป 	 	         	  ถงึ ที่ สขุ นา
บาปส่งจ�ำ ตกช้า 	 	         	  ช่วยได้ฉันใดฯ

       พระลอกลา่ วตอ่ พระนางบญุ เหลอื วา่ ทกุ อยา่ งเปน็ เรอ่ื งของกรรม หากตนเองเคยไดท้ �ำ  “กศุ ล” หรอื
กระท�ำ ดี ความดนี น้ั กจ็ ะน�ำ พาใหต้ นไปสคู่ วามดงี าม ตรงกนั ขา้ ม หากตนเองเคยไดท้ �ำ “บาป” หรอื กระท�ำ ชวั่
ความชั่วนั้นก็จะนำ�พาให้ตนไปสู่ความวิบัติ ซ่ึงเป็นส่ิงท่ีถูกกำ�หนดไว้ในกรรมของตนเองอยู่แล้ว ไม่มี
ผใู้ ดท่ีสามารถจะช่วยเหลือแก้ไขใหด้ ีขึ้นได้

       นอกจากนี้ ในวรรณกรรมนิราศหลายเร่อื ง กวกี จ็ ะกล่าวโทษวา่ “กรรม” เป็นส่ิงสำ�คญั ทท่ี �ำ ให้ตน
จำ�ต้องพลัดพรากจากนางอันเปน็ ทร่ี กั ไป ดังปรากฏในทวาทศมาส ตอนหน่ึงความว่า

	 	 เพรงเราเคยพรากเนอ้ื 	 	    นกไกล คฤู่ ๅ      (ทวาทศมาส. 2539: 86)
ริบราชเอาของขงั 	 	 	          ค่งั ไว้
มาทนั ปลดิ สายใจ	 	 	          เจียรจาก เรียมนา
มานริ ารสให้	 	 	              หา่ งไกลฯ

       กวีผู้ประพันธ์ทวาทศมาสกล่าวว่าการที่ตนต้องพลัดพรากจากนางอันเป็นท่ีรักน้ันอาจเป็นผล
มาจากกรรมท่ีตนเคยได้ “พรากเนื้อนกไกลคู่” หรือการที่เคย “ริบราชเอาของขัง ค่ังไว้” อันเป็นเหตุที่
ท�ำ ใหก้ วกี บั นางตอ้ งพรากจากกนั ซงึ่ เปน็ การแสดงใหเ้ หน็ วา่ กวนี น้ั มคี วามเชอื่ เรอื่ งกรรม การกลา่ วโทษวา่
“กรรม” เปน็ สงิ่ ทท่ี �ำ ใหต้ อ้ งประสบกบั เคราะหภ์ ยั ตา่ งๆ นบั ไดว้ า่ เปน็ การระบายความทกุ ขใ์ นใจออกมากไดด้ ี
วิธีการหนึ่งในภาวะทหี่ าค�ำ ตอบจากชะตาชีวิตของตนเองไมไ่ ด้ ซ่ึงการกลา่ วโทษ “กรรม” นี้ มิไดป้ รากฏ
แตเ่ ฉพาะในวรรณกรรมเทา่ นนั้ เพราะคนในสงั คมไทยนบั แตอ่ ดตี มาจนถงึ ปจั จบุ นั กย็ งั คงโทษ “กรรม” วา่
เป็นเหตทุ ่ีท�ำ ใหเ้ กิดเคราะห์ภยั ต่างๆ เชน่ กนั

       4.2 	ความเชื่อเร่ืองการเวียนว่ายตายเกิด ตามความเชื่อทางพุทธศาสนา มนุษย์ท่ียังมีกรรมอยู่จะ
ต้องเวียนว่ายตายเกิดอยู่ในสังสารวัฏจนกว่าจะสิ้นกรรม คือจนกว่าบรรลุสู่พระนิพพาน ดังนั้น เรื่องการ
เวียนตายเกิดจึงเป็นความเชื่อท่ีคนไทยเชื่อถือกันมาก ในวรรณกรรมเรื่องพระอภัยมณี มีการกล่าวถึง
เร่ืองการเวียนว่ายตายเกิดหลายตอน เช่น ในตอนทตี่ ัวละครแสดงความรักตอ่ กัน ตัวละครก็มักจะกล่าวว่า
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74