Page 71 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 71

วรรณกรรมกบั สังคมไทย 8-61
	 ทวยใดเจา้ เกือ้ โภค	 	 	 ภูลมี ม่งั นา
ครน้ั บถวิลภักด	ี 	 	 	 แด่เจ้า
ชือ่ ยนื อยูแ่ สนป	ี 	 	 	 เปน็ คู่ ตายนา
ตายกด็ ไี ด้เขา้ 	 	 	 	 ขอ่ งนาํ้ นรกานต์ฯ

                                                  (ลลิ ิตยวนพ่าย. 2540: 355)

       จากบทประพันธ์ข้างต้น กวีกล่าวว่าข้าราชสำ�นักที่ “ตายเพ่ือภักดี” ต่อพระเจ้าแผ่นดิน บุคคล
ผู้นั้นก็จะเป็นที่จดจำ�ของสังคมตลอดไป ท้ังเมื่อสิ้นชีวิตไปแล้วก็จะได้ไปเกิด ณ สถานที่ที่มีแต่ความสุข
มี “นางฟ้าล้อม” ให้ความบันเทิงและเพลิดเพลินเสมอกับพระอินทร์ ตรงกันข้ามข้าราชสำ�นักท่ี
พระเจ้าแผ่นดินทรงพระกรุณาให้ทรัพย์สินเงินทอง แต่กลับ “บถวิลภักดีแด่เจ้า” หรือคิดทรยศต่อ
พระเจ้าแผ่นดิน ก็จะเป็นที่จดจำ�ของคนในสังคมเช่นกันในฐานะที่เป็นคนชั่ว แม้เม่ือส้ินชีวิตไปแล้ว ก็จะ
ต้องไปเกดิ ใน “นรกานต์” หรือนรกซึง่ จะตอ้ งทุกขท์ รมานอย่างแสนสาหัส

       สว่ นความเชอื่ เรอื่ งนพิ พานกป็ รากฏในวรรณกรรมไทยหลายเรอื่ งเชน่ กนั เชน่ ในเรอื่ งพระอภยั มณี
ในตอนที่พระโยคีแห่งเกาะแก้วพิสดารมาเทศนาให้กองทัพฝ่ายนางสุวรรณมาลีและนางละเวงเลิกรบ
ระหว่างกัน ทำ�ให้กองทัพทั้งสองฝ่ายต่างเกิดสติและยอมยุติสงคราม บทเทศนาของพระโยคีดังกล่าว
นับได้วา่ มีความลกึ ซึง้ และให้ขอ้ คดิ เป็นอย่างมากแกผ่ ู้อา่ น ดงั ที่กล่าวว่า

	 	 ขณะนัน้ คอ่ นดกึ ศกึ สงบ	 	 	         ต่างนอบนบนับถอื พระฤๅษี
ไมก่ ริบเกรยี บเงยี บสงัดทัง้ ปถั พ	ี 	   พระโยคีเทศนาในอาการ
คอื รูปรสกลนิ่ เสียงไม่เที่ยงแท	้ 	       ย่อมเฒา่ แกเ่ กิดโรคโศกสงสาร
ความตายหน่งึ พงึ ใหเ้ ปน็ เปน็ ประธาน	 	  หวังนพิ พานพน้ ทุกข์สนุกสบาย
ซ่ึงชาวเมอื งเคืองเขญ็ ถงึ เชน่ น้	ี 	    เพราะโลกยี ์ตณั หาพาฉิบหาย
อันศีลหา้ ว่าอย่าทำ�ใหจ้ ำ�ตาย	 	 	       จะตกอบายภูมิขมุ นรก
หนึง่ วา่ อย่าลักเอาของเขาอ่นื 		 	       มาชมชืน่ ฉ้อฉลคนโกหก
หนง่ึ ท�ำ ชู้คูเ่ ขาเล่าลามก	 	 	         จะตายตกในกระทะอเวจี
หนึ่งสบู ฝ่นิ กินสรุ ามุสาวาท	 	 	        ใครท�ำ ขาดศลี หา้ ส้นิ ราศี
ใครสัตยซ์ ือ่ ถอื ม่นั ในขันตี	 	 	       จะถึงทพ่ี ระนิพพานสำ�ราญใจ

                                                  (พระอภยั มณ.ี 2515: 883-884)

       พระโยคีส่ังสอนว่า “รูปรสกล่ินเสียง” น้ันมีความ “ไม่เท่ียงแท้” หรือเป็นอนิจจัง มนุษย์จึงควร
ละเว้นจาก “โลกีย์ตัณหา” ต่างๆ และ “หวังนิพพาน” เพ่ือท่ีตนจะได้ “พ้นทุกข์สนุกสบาย” จากนั้น
จึงสอนให้ดำ�รงตนอยู่ในศีลห้า คือ “อย่าลักเอาของเขาอื่น” อย่า “ทำ�ชู้คู่เขา” และอย่า “สูบฝิ่นกินสุรา
มุสาวาท” เพ่ือจะได้มิต้อง “ตกอบายภูมิขุมนรก”   ส่วนผู้ที่ “สัตย์ซ่ือถือม่ันในขันตี” ก็ “จะถึงที่
   66   67   68   69   70   71   72   73   74   75   76