Page 70 - ศิลปะกับสังคมไทย
P. 70
8-60 ศลิ ปะกบั สงั คมไทย
ขอรักกันทกุ ชาติไป หรือขอใหช้ าตหิ นา้ ได้รกั กนั เช่น ในบททพี่ ระอภยั มณเี ก้ยี วนางละเวงวา่ “จะติดตาม
ทรามสงวนนวลละออง เปน็ คูค่ รองพิศวาสทุกชาตไิ ป” (พระอภยั มณี. 2515: 662)
นอกจากนี้ ยงั มกี ารแสดงใหเ้ หน็ วา่ การกอ่ กรรมท�ำ ชว่ั จะเปน็ บาปทท่ี �ำ ใหจ้ �ำ ตอ้ งเวยี นวา่ ยตายเกดิ
อยู่ในสังสารวัฏไม่รู้จบสิ้น ดังปรากฏในตอนท่ีสุดสาครทูลขอมิให้ท้าวสุริโยทัยประหารชีวิตชีเปลือย ด้วย
เกรงว่าจะเปน็ บาปตดิ ตัวไปในชาตภิ พหนา้ ดงั ทกี่ ล่าววา่
ไมห่ ุนหันฉันทาพยาบาท นกึ ว่าชาติกอ่ นกรรมจะท�ำ ไฉน
จะฆ่าฟนั มันกซ็ ํา้ เป็นกรรมไป ต้องเวียนว่ายเวทนาอย่ชู า้ นาน
รปู บวชกายหมายใจจะไดต้ รสั ชว่ ยสง่ สัตวเ์ สียให้พน้ วนสงสาร
จะเขน่ ฆา่ ตาเฒา่ ไม่เข้าการ ขอประทานโทษไวอ้ ย่าให้ตายฯ
(พระอภยั มณ.ี 2515: 397)
สุดสาครทูลต่อท้าวสุริโยทัยว่าตนเองนั้นไม่คิดแค้นชีเปลือยที่คิดจะสังหาร โดย “นึกว่าชาติก่อน
กรรมจะทำ�ไฉน” ดงั นน้ั การประหารชวี ติ ชเี ปลอื ยจะ “ซา้ํ เปน็ กรรมไป” ท�ำ ใหต้ นเอง “ตอ้ งเวยี นวา่ ยเวทนา
อยู่ช้านาน” หรือจะกลายเป็นกรรมช่ัวติดตัวเองไปในชาติภพหน้า จึง “ขอประทานโทษไว้อย่าให้ตาย”
เพื่อท่ีจะมิได้เป็นการก่อกรรม จะเห็นได้ว่า ความเชื่อเร่ืองการเวียนว่ายตายเกิดเป็นสิ่งท่ีทำ�ให้
พุทธศาสนิกชนพยายามละเว้นจากการกระทำ�ชั่ว เพื่อมิให้เป็นผลกรรมติดตัวไปในภพชาติหน้า และยัง
เปน็ การสะสมความดีเพ่อื ใหบ้ รรลุถงึ พระนิพพานอกี ดว้ ย
4.3 ความเช่อื เรอื่ งนรก สวรรค์ และนิพพาน เป็นความเชอื่ ตามคติเรือ่ งไตรภมู ใิ นพระพทุ ธศาสนา
ซึ่งเชื่อกันว่าคนที่กระทำ�ความดีอย่างสม่ําเสมอ เม่ือถึงแก่กรรมไปก็จะได้ไปเกิดในสรวงสวรรค์อันเต็มไป
ด้วยความสุขสำ�ราญใจ ตรงกันข้ามคนท่ีกระทำ�แต่ความช่ัว เมื่อถึงแก่กรรมไปก็จะไปเกิดในนรกที่เต็มไป
ด้วยการลงทัณฑ์อันแสนทรมานต่างๆ ส่วนผู้ท่ีกระทำ�แต่ความดี ละเว้นความชั่ว และทำ�จิตใจให้บริสุทธิ์
ในทุกภพชาติ ก็อาจจะไปสพู่ ระนพิ พาน คือ หลุดพน้ จากการเวียนวา่ ยตายเกิดในสงั สารวัฏ ดังนัน้ จึงอาจ
กล่าวได้ว่า ความเชื่อเรื่องนรก สวรรค์ และนิพพานนั้นเป็นกรอบทางศีลธรรมที่โน้มน้าวให้คนในสังคม
กระท�ำ ความดี ละเวน้ ความชัว่ และทำ�จติ ใจให้บรสิ ทุ ธิ์
ในวรรณกรรมหลายเร่ืองได้ใช้ความเช่ือเร่ืองนรก และสวรรค์ในการโน้มน้าวใจให้คนในสังคม
ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ หรือปลูกฝังความเป็นพลเมืองที่ดีให้แก่คนในสังคม เช่น ในโคลงยวนพ่าย กวีได้ใช้
ความเชอ่ื เรอื่ งนรกสวรรค์ในการสรา้ งกรอบของข้าราชสำ�นักที่ดี ดังทกี่ ลา่ วว่า
ข้าไท้ธิเบศผู ้ ใดใด กด็ ี
ตายเพอ่ื ภักดโี ดย ซื่อซร้อม
คอื คนอย่เู ปนใน อธิ โลกย
บรโลกยนางฟ้าล้อม เลิศอินทรฯ์