Page 57 - การจัดการงานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา
P. 57

การ​สื่อสาร การ​ประสาน​งาน และก​ ารค​ วบคุม​งาน​เทคโนโลยีแ​ ละ​สื่อสาร​การศ​ ึกษา 8-47

                2) 	การ​จัด​งบ​ประมาณ​เพ่ือ​การ​จัด​ซ้ือ หลัง​จาก​จัด​ทำ�​งบ​ประมาณ​ขาย​แล้ว ก็​มา​จัด​ทำ�​
งบ​ประมาณ​เพื่อ​การ​จัด​ซื้อ​สินค้า​และ​วัตถุดิบ​ต่อ​ไป สำ�หรับ​หน่วย​งาน​หรือ​ฝ่าย​ผลิต ต้อง​นำ�​ตัวเลข​จาก​
งบ​ประมาณ​ขาย​นำ�​มา​ใช้​ใน​การ​วางแผน​การ​ผลิต​เพื่อ​จัด​ซื้อ​วัตถุดิบ วัสดุ และ​อุปกรณ์​และ​เครื่อง​มือ และ​
จัด​บุคลากร​ปฏิบัติ​งาน เพื่อ​ให้​ผลิต​ได้​สอดคล้อง​กับ​ความ​ต้องการ​ของ​การ​ขาย​สินค้า​ใน​แต่ละ​งวด​ของ
​งบ​ประมาณ​ต่อ​ไป

                3) 	การ​จัด​ทำ�​งบ​ประมาณ​การ​ดำ�เนิน​การ หรือ​การ​จัด​ทำ�​งบ​ประมาณ​แสดง​รายรับ​และ​
ราย​จ่าย งบ​ประมาณ​นี้​จะ​แสดง​ผล​กำ�ไร และ​ขาดทุน​ใน​งวด​ปีงบประมาณ การ​จัดการ​งบ​ประมาณ​นี้​สามารถ​
ทราบ​ได้​ว่า​ใน​งวด​ปีงบประมาณ​นั้น​ต้อง​ทำ�​อะไร หรือ​จะ​มี​รายรับ​และ​ราย​จ่าย​ใน​รายการ​ต่างๆ อย่างไร​บ้าง
ประโยชน์​ของง​ บน​ ี้ คือ สามารถ​ใช้เ​ป็นเ​ครื่อง​วัดผลง​ านว​ ่า​ได้​ตาม​วัตถุประสงค์ห​ รือ​ไม่แ​ ละจ​ ะต​ ้องแ​ ก้ไข​อะไร

                4) 	การจ​ ดั ท​ �ำ ​งบป​ ระมาณ​เงนิ สด เป็นการ​แสดงว​ ่า​ใน​งวด​งบป​ ระมาณ​หนึ่ง​จะ​มีเ​งินสด​มา​
จากแ​ หล่งใ​ด ต้อง​จ่ายเ​งินสดไ​ปแ​ หล่งใ​ด เงินสดไ​ม่พ​ อก​ ับค​ วามต​ ้องการต​ ้องหาด​ ้วยว​ ิธใี​ด หากม​ เี​งินสดเ​กินจ​ ะ​
นำ�​ไป​ใช้ป​ ระโยชน์ด​ ้าน​อื่น​ได้เ​ท่าใด

                5) 	การ​จัด​ทำ�​งบ​ประมาณ​งบดุล การ​ควบคุม​ทาง​บัญชี​ต้อง​ดำ�เนิน​การ​จัด​ทำ�​งบดุล
​ดัง​กล่าว

       2.4 	 การ​ควบคุม​โดยว​ ิธ​กี ารต​ รวจเ​ย่ยี ม
            2.4.1 	ความห​ มายข​ องก​ ารค​ วบคุมโ​ดยว​ ิธก​ี ารต​ รวจเ​ยีย่ ม เป็นการท​ ี่ห​ ัวหน้าง​ านไ​ปส​ ังเกตการณ์

สถาน​ที่ป​ ฏิบัติ​งานจ​ ริง
            2.4.2 	หลัก​การข​ องก​ ารค​ วบคุมโ​ดยว​ ธิ ​ีการ​ตรวจ​เย่ียม มีด​ ังนี้ คือ
                1) 	ต้องไ​ปต​ รวจเ​ยี่ยมป​ ระจ​ ำ�​บ่อยๆ เพื่อด​ เู​หมือนว​ ่าเ​ป็นการด​ ูแลท​ ุกขส์​ ุขข​ องบ​ ุคลากรใ​น​

องค์กร
                2) 	ต้อง​ไม่​ทำ�ให้เ​กิดค​ วามร​ ะแวงว​ ่าเ​พื่อ​จับผิดท​ ำ�ให้​ผู้​ปฏิบัติง​ านต​ ้อง​เสียข​ วัญ
                3) 	ควรไ​ปเ​พือ่ ท​ ราบท​ กุ ขส์​ ุขป​ ญั หาใ​นก​ ารป​ ฏิบัตงิ​ านใ​หค้​ ำ�​แนะนำ� ปรึกษา และบ​ ำ�รุงข​ วญั ​

ผู้​ปฏิบัติง​ าน​มากกว่าไ​ปจ​ ้องจ​ ับผิด
                 4) 	การ​ไป​ตรวจ​เยี่ยม​ควร​แจ้ง​ให้​ผู้​ปฏิบัติ​งาน​ได้​ทราบ​ล่วง​หน้า​จะ​ได้​เตรียม​ตัว​ได้​ถูก

มิฉ​ ะนั้นจ​ ะ​เหมือน​กับ​ไปจ​ ับผิด
                 5) 	มี​การ​วางแผน​การ​ไป​ตรวจ​เยี่ยม กล่าว​คือ กำ�หนด​ว่า​ตรวจ​เยี่ยม​อะไร เมื่อ​ใด และ​

เพื่อ​รวบรวมป​ ัญหาอ​ ะไร
            2.4.3 	ประโยชนท​์ ี่ผ​ บ​ู้ รหิ าร​และผ​ ​้ปู ฏบิ ตั ​งิ าน​ไดร​้ บั ​จาก​การ​ตรวจเ​ยีย่ ม มี​ดังนี้ คือ
                1) 	ผู้ป​ ฏิบัติ​งาน​ตื่นต​ ัว​ใน​การ​ทำ�งาน เพราะม​ ี​ผู้​บริหาร​มา​เยี่ยมถ​ ึงที่ท​ ำ�งาน
                2) 	ผู้​ปฏิบัติง​ าน​รู้สึก​ว่าง​ านท​ ี่​ทำ�​เป็น​ที่​สนใจข​ อง​ผู้​บังคับบ​ ัญชา ทำ�ให้เ​กิดก​ ำ�ลังใ​จใ​นก​ าร​

ทำ�งานม​ ากย​ ิ่ง​ขึ้น
                3) 	ผูบ้​ ริหารแ​ ละผ​ ูป้​ ฏิบัตงิ​ านน​ ีม้​ คี​ วามส​ ัมพันธอ์​ ันด​ ตี​ ่อก​ ันใ​กลช้​ ิดส​ นิทส​ นมก​ ัน ผูบ้​ ริหาร​

ต้องท​ ำ�ให้​เหมือนก​ ารต​ รวจเ​ยี่ยม​เพื่อ​ดูแล​ทุกข์​สุขข​ องผ​ ู้​ใต้​บังคับ​บัญชา​มากกว่า​การจ​ ับผิด
   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62