Page 53 - การจัดการงานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา
P. 53

การ​สื่อสาร การ​ประสานง​ าน และ​การค​ วบคุม​งานเ​ทคโนโลยี​และส​ ื่อสารก​ าร​ศึกษา 8-43

       4.1 	 ลักษณะ​ของ​การ​ดำ�เนิน​การ​แก้ไข การ​ดำ�เนิน​การ​แก้ไข​ควร​มี​ลักษณะ ดังนี้ ผู้​บริหาร​ควร​เป็น​
ผู้ด​ ำ�เนิน​การ​แก้ไข ดำ�เนิน​การแ​ ก้ไข​ทันที และ​ควร​วิเคราะห์ห​ าส​ าเหตุข​ องจ​ ุดอ​ ่อน​ให้​พบแ​ ละ​แก้ไข​ที่ส​ าเหตุ

            1) 	ผ้บ​ู รหิ ารค​ วรเ​ปน็ ​ผู้​ดำ�เนินก​ ารแ​ ก้ไข กรณี​ผลก​ าร​ปฏิบัติ​งานแ​ ตก​ต่าง​ออก​ไป​จาก​มาตรฐาน
ผู้บ​ ริหาร​เป็น​ผู้ม​ อบห​ มายง​ านต​ ้องด​ ำ�เนินก​ าร​แก้ไข

            2) 	การแ​ กไ้ ขค​ วรด​ �ำ เนนิ ก​ ารท​ นั ที หลังจ​ ากข​ ้อบ​ กพร่องท​ ำ�ใหผ้​ ลก​ ารป​ ฏิบัตงิ​ านแ​ ตกต​ ่างไ​ปจ​ าก​
มาตรฐาน ต้อง​ดำ�เนิน​การ​แก้ไข​ทันที เพื่อ​ไม่​ให้​เสีย​ค่า​ใช้​จ่าย​เพิ่ม หรือ​ผล​เสีย​ต่อ​องค์กร​ใน​กรณี​ที่​ไม่มี​การ​
แก้ไข

            3) 	การแ​ กไ้ ขค​ วรว​ เิ คราะหห​์ าส​ าเหตข​ุ องจ​ ดุ อ​ อ่ น ขอ้ บ​ กพรอ่ งใ​หพ​้ บ และแ​ กไ้ ขท​ ส​่ี าเหตน​ุ น้ั มกั ​
พบว​ ่าผ​ บู้​ รหิ ารส​ ว่ นใ​หญม​่ ักแ​ ก้ไขก​ ารป​ ฏิบตั ง​ิ านจ​ ากอ​ าการท​ ีเ่​กิดข​ ึ้นไ​มไ่​ดค้​ �ำ นึงถ​ งึ ส​ าเหตุ เช่น ฝ่ายข​ ายข​ ายข​ อง​
ลด​ลงเ​ป็น​อาการไ​ม่ใช่ส​ าเหตุ ปรับปรุง​แก้ไขม​ าตรฐาน ควรพ​ ิจารณาท​ ี่​สาเหตุ​อาจ​เกิด​ขึ้น​จากก​ ารอ​ อกแบบ​สื่อ​
ที่ไ​ ม่​ดี

       4.2 	 แนวทางก​ ารแ​ ก้ไข​การด​ �ำ เนนิ ง​ าน การแ​ ก้ไขม​ ัก​จะ​แก้ไข​ในเ​รื่อง​ต่างๆ ดังนี้ คือ
            1) 	ปรับปรุง​แก้ไข​มาตรฐาน เพราะ​มาตรฐาน​ที่​กำ�หนด​ไว้​ยาก​จะ​ปฏิบัติ​งาน จำ�เป็น​ต้อง​ลด​

มาตรฐานล​ งเ​นื่องจากท​ รัพยากร​มี​จำ�กัด หรือม​ าตรฐานท​ ี่ก​ ำ�หนด​ไม่​เหมาะก​ ับส​ ถานการณ์ท​ ี่​เปลี่ยน​ไป
            นอกจาก​จะ​แก้ไข​การ​ปฏิบัติ​งาน​แล้ว อาจ​ต้อง​เปลี่ยน​นโยบาย ระเบียบ วิธี​การ​ปฏิบัติ​งาน​ที่​

เกี่ยวข้อง​กัน​ให้​สอดคล้อง​กัน​ด้วย เช่น หน่วย​ให้​บริการ​มี​มาตรฐาน​ใน​การ​ให้​บริการ คือ เพิ่ม​การ​ให้​บริการ​
กับก​ ลุ่มเ​ป้าห​ มา​ยอื่นๆ แต่​มีน​โยบ​ าย​งด​การ​ให้บ​ ริการ​ใน​วัน​หยุด เพื่อป​ ระหยัด​ทรัพยากร แทนที่​จะ​เพิ่ม​ตาม​
มาตรฐาน ปรากฏ​ว่า​ผู้ใ​ช้บ​ ริการ​ไม่ส​ ามารถ​ใช้​บริการ​ในว​ ันห​ ยุด​ได้ ดัง​นั้น ต้อง​ปรับน​ โยบาย​ให้ส​ อดคล้องก​ ับ​
มาตรฐาน​ที่​กำ�หนด

            2) 	ปรบั ปรงุ แ​ กไ้ ขก​ ารด​ �ำ เนนิ ง​ าน เมือ่ ม​ ก​ี ารว​ ดั แ​ ละพ​ บว​ า่ การด​ �ำ เนนิ ก​ ารไ​มเ​่ ปน็ ไ​ปต​ ามม​ าตรฐาน​
ก็ต​ ้อง​มีก​ ารแ​ ก้ไข เพื่อป​ รับปรุงข​ ้อ​บกพร่องใ​นก​ าร​ดำ�เนิน​งาน​นั้น

            3) 	ปรับปรุง​ตัวผู้​บริหาร อาจ​ต้อง​แก้ไข​ปรับปรุง​ภาวะ​ผู้นำ� และ​ความ​สามารถ​ใน​การ​อำ�นวย​
การ​ของผ​ ู้​บริหาร​ให้​มีป​ ระสิทธิภาพข​ ึ้น

            4) 	ปรับปรุง​ตัว​บุคคล สาเหตุ​มา​จาก​ผู้​ปฏิบัติ​งาน​ไม่มี​ความ​รู้​ใน​เรื่อง​นั้น​ต้อง​จัด​ฝึก​อบรม​
เพิ่มพูนค​ วามร​ ูใ้​นเ​รื่องด​ ังก​ ล่าว หรอื ป​ รับเ​ปลีย่ นผ​ ูอ​้ ืน่ ม​ าป​ ฏบิ ตั งิ​ านแ​ ทนผ​ นู้​ ัน้ หรอื ป​ รับปรุงก​ ระบวนการส​ รรหา​
คัด​เลือก​บุคลากร

            5) 	สร้าง​แรง​จูงใจ​ใน​การ​ทำ�งาน การ​ที่​ผล​งาน​ไม่​เป็น​ไป​ตาม​มาตร​ฐาน​ทั้งๆ ที่​ผู้​ปฏิบัติ​งาน​มี​
ความ​รู้​ความ​สามารถ​เป็น​อย่าง​ดี เป็น​เพราะ​ขาด​แรง​จูงใจ​ใน​การ​ทำ�งาน ผู้​บริหาร​ควร​หา​สาเหตุ​และ​สร้าง​แรง​
จูงใจ​ให้​ผู้​ปฏิบัติ​งาน​อยาก​ทำ�งาน โดย​ใช้​สิ่ง​ล่อ​ใจ​ทาง​บวก เช่น การ​ให้​โบนัส​หรือ​การ​ให้​เงิน​เพิ่ม การ​ให้​หยุด​
งานพ​ ิเศษ​โดย​ได้ร​ ับ​เงินเ​ดือน การพาไ​ปเ​ที่ยว​โดย​องค์กรอ​ อกค​ ่า​ใช้จ​ ่ายใ​ห้ เป็นต้น
   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57   58