Page 50 - การจัดการงานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา
P. 50

8-40 การจัดการงานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา

       1.2 	 แนวทาง​การ​กำ�หนด​มาตรฐาน​การ​ปฏิบัติ​งาน​เทคโนโลยี​และ​ส่ือสาร​การ​ศึกษา แนวทาง​การ​
กำ�หนด​มาตรฐานก​ ารป​ ฏิบัติ​งาน​เทคโนโลยี​และ​สื่อสารก​ ารศ​ ึกษา​มี​ดังนี้ คือ

            1) 	ใช้ข​ อ้ มลู ​ใน​อดตี ​เป็นพ​ ื้นฐ​ าน​ใน​กำ�หนด​มาตรฐาน​การ​ปฏิบัติง​ าน
            2) 	ใช้​ประสบการณ์​ท่ี​ผ่าน​มา​ของ​ผู้​บริหาร มัก​ใช้​ใน​องค์กร​เทคโนโลยี​และ​สื่อสาร​การ​ศึกษา​
ขนาด​เล็ก​ที่​ขาด​ข้อมูล​ที่​เป็น​พื้น​ฐาน​ใน​การ​วิเคราะห์​มัก​อาศัย​ประสบการณ์​ของ​ผู้​บริหาร​ใน​หน่วย​งาน​นั้น​เป็น​
สิ่ง​กำ�หนด​มาตรฐาน
            3) 	การก​ ำ�หนดม​ าตรฐานก​ ารป​ ฏิบัติ​งาน ควรก​ ะทัดรดั ส​ ามารถน​ ำ�​ไปป​ ฏิบัติไ​ด้
            4) 	การ​กำ�หนด​มาตรฐาน​การ​ปฏิบัติ โดย​ศึกษา​จาก​แผน​งาน ถ้า​ผู้​ปฏิบัติ​งาน​ทำ�งาน​ตาม​
มาตรฐานช​ ่วย​ให้​แผนง​ าน​บรรลุ​เป้าห​ มาย ทำ�ให้เ​กิด​ความเ​ข้าใจ และ​เกิดก​ ารป​ ระสานง​ าน​ที่ด​ ี​ในอ​ งค์กร
            5) 	การ​กำ�หนด​มาตรฐาน​ที่​ดี ต้อง​กำ�หนด​มาตรฐาน​การ​ปฏิบัติ​งาน​ใน​รูป​ของ​กำ�ไร​ของ​แต่ละ​
หน่วย​งาน​ใน​องค์กร องค์กร​บาง​องค์กร​กำ�หนด​เกณฑ์​มาตรฐาน​ของ​งาน​อยู่​ที่​ความ​ก้าวหน้า​ของ​การ​ขยาย​
ตลาด และ​ผลิตผล เป็นต้น
            6) 	การ​ให้​ความ​สำ�คัญ​ของ​ปัจจัย​แต่ละ​ตัว​ใน​การ​กำ�หนด​มาตรฐาน​ของ​งาน​และ​ใช้​เกณฑ์​ใด​
สำ�หรับ​ปัจจัย​แต่ละ​ตัว ลักษณะ​ของ​ปัจจัย​ที่​เกี่ยวข้อง เช่น ทัศนคติ​ของ​ผู้​ใช้​บริการ เกณฑ์​มาตรฐาน 90%
ของผ​ ู้​ใช้​บริการท​ ี่​ซื้อ​สื่อด​ ้วยเ​งินสด ระยะ​เวลา ค่าใ​ช้จ​ ่าย กำ�ไร​จากก​ าร​ขาย เป็นต้น
            7) 	การก​ ำ�หนด​มาตรฐาน​ต้อง​จัด​ให้​มีค​ วามย​ ืดหยุ่น เพื่อใ​ห้​เกิดค​ วาม​คล่องต​ ัวใ​นก​ ารค​ วบคุม​
มาก​ยิ่ง​ขึ้น เพราะ​การ​กำ�หนด​มาตรฐาน เป็นการ​คาด​การณ์​เหตุการณ์​ล่วง​หน้า อาจ​มี​ความคลาด​เคลื่อน​เกิด​
ขึ้น​ใน​เกณฑ์ม​ าตรฐาน​ได้
            8) 	การก​ ำ�หนดม​ าตรฐาน​ของ​งาน​ควรเ​ป็น​ตวั เลขเ​ชิง​ปรมิ าณส​ ามารถ​วดั ​ได้ เช่น เพิ่ม​ยอดข​ าย​
สื่ออ​ ีกร​ ้อยล​ ะ 10 ใน​ปีแ​ รก สำ�หรับ​มาตรฐาน​ที่เ​ป็นน​ ามธรรม​ไม่ส​ ามารถร​ ะบุเ​ป็นต​ ัวเลขเ​ชิงป​ ริมาณไ​ด้โ​ดยตรง
ก็ค​ วรใ​ช้ว​ ิธี​ทาง​อ้อม เช่น ขวัญ​ของ​พนักงาน อาจใ​ช้​อัตราก​ ารล​ าอ​ อก โอน และ​ย้าย เป็น​เครื่อง​วัด
            9) 	การก​ ำ�หนด​มาตรฐาน​ไม่ค​ วรต​ ้งั ​ไวส​้ งู เ​กนิ ไ​ ป​จน​ยาก​ท่ีจ​ ะเ​ปน็ ไ​ ป​ได้
            10) 	การ​กำ�หนด​มาตรฐาน​ที่​ดี​ต้อง​ระบุ​แนวทาง​ท่ี​นำ�​มา​ใช้​วัด​อย่าง​ชัดเจน​และ​เป็น​ที่​เข้าใจ​ของ​
ผู้ป​ ฏิบัติด​ ้วย
            11) การ​กำ�หนด​มาตรฐาน​ที่​ดี​ควรส​ ะท้อน​ถึง​ขีด​ความ​สามารถ​ของ​องค์กร​จำ�นวน​ทรัพยากร​ที​่
องค์กร​นั้นม​ ีอ​ ยู่
            12) การ​กำ�หนดม​ าตรฐานค​ วร​ชี้ใ​หเ​้ น้น​งาน​หลกั ห​ รอื ​งาน​ท​สี่ �ำ คญั ใ​นอ​ งคก์ ร
            13) การ​กำ�หนดม​ าตรฐาน​ต้อง​มค​ี วามถ​ กู ​ต้อง
            14) การก​ ำ�หนด​มาตรฐานต​ ้องอ​ ิง​วิธ​กี ารท​ างว​ ทิ ยาศาสตร์
            15) การ​กำ�หนดม​ าตรฐาน​ต้อง​ก�ำ หนด​ง่ายๆ ไม่​ซับซ​ ้อนย​ ุ่ง​ยาก
            16) ต้องม​ ี​การต​ รวจส​ อบ​มาตรฐาน​ท่ีก​ �ำ หนด​ข้นึ ​อยา่ ง​สมาํ่ เสมอเ​พื่อป​ รับปรุง​การ​ทำ�งาน
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55