Page 52 - การจัดการงานเทคโนโลยี และสื่อสารการศึกษา
P. 52
8-42 การจัดการงานเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
2.3 แนวทางการประเมินผลก ารปฏบิ ตั ิงานทางเทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา ในก ารประเมินผล
การป ฏิบัติง านห รือก ารว ัดผลง านท างเทคโนโลยีแ ละส ื่อสารก ารศ ึกษาค วรจ ะก ำ�หนดว ่าจ ะว ัดอ ะไร วัดอ ย่างไร
และว ัดเมื่อใด
1) จะว ัดอะไร ต้องเกี่ยวข้องกับม าตรฐานที่ก ำ�หนดไว้ ต้องม ีก ารก ำ�หนดม าตรฐานไว้ว ่า ต้อง
ขายส ื่อท ีผ่ ลิตข ึ้นใหไ้ดย้ อดข าย 1,000 ชิ้นภ ายใน 1 ปี การว ัดต ้องไปว ัดจ ำ�นวนย อดข ายข องเจ้าห น้าทีฝ่ ่ายข าย
ต่อเดือน หรือ 3 เดือน เพื่อด ูแนวโน้มว่าเป็นไปได้ตามม าตรฐานท ี่ก ำ�หนดไว้ห รือไม่
2) วดั อ ย่างไร ขึ้นอ ยู่กับส ถานการณ์ บางก รณีต ้องว ัดงานท ุกชิ้นท ี่จัดทำ�ขึ้น บางก รณีวัดแ บบ
สุ่มตัวอย่าง เช่น งานท ี่เกี่ยวก ับการผลิตบทเรียนค อมพิวเตอร์ช่วยสอน จำ�นวนมากไม่ส ามารถตรวจสอบได้
ทุกชิ้น
3) วัดเมื่อใด อาจท ำ�ได้ 3 กรณี คือ (1) ก่อนการป ฏิบัติง าน (2) ระหว่างการป ฏิบัติง าน และ
(3) หลังก ารป ฏิบัติงาน
(1) วดั ก อ่ นป ฏบิ ตั งิ าน เชน่ กรณผี ลติ ว ดิ ที ศั นป์ ระกอบก ารเรยี นว ชิ าว ทิ ยาศาสตรท์ ผี่ ลติ
จำ�นวนน้อย เพื่อทดสอบผ ู้ใช้บ ริการต ้องการหรือไม่ก่อนท ี่จะท ำ�ผลิตอ อกมาเป็นจ ำ�นวนม าก
(2) วัดในระหว่างการปฏิบัติงาน เช่น องค์กรเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาทำ�การ
สำ�รวจค วามต ้องการข องล ูกค้าเพื่อป รับปรุงก ารให้บ ริการก ารผ ลิตส ื่อให้ต ามค วามต ้องการข องล ูกค้าในข ณะ
ที่ยังผ ลิตสื่อไม่เสร็จ
(3) วัดหลังจากปฏิบัติงาน เช่น องค์กรเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาสำ�รวจดูยอด
ขายของสื่อวิด ีทัศน์ประกอบก ารเรียนได้หลังจ ากที่ผ ลิตอ อกม าแ ล้ว เพื่อน ำ�ไปป รับปรุงแก้ไขในโอกาสต่อไป
3. การเปรียบเทียบผ ลก ารปฏิบตั งิ านกบั มาตรฐานงานเทคโนโลยแี ละสือ่ สารการศ กึ ษา
เมือ่ ว ดั ผลง านท เี่ กดิ ข ึน้ ไดแ้ ลว้ น �ำ มาเปรยี บเทยี บก บั ม าตรฐานก ารป ฏบิ ตั งิ านท กี่ �ำ หนดไว้ ซึง่ ผ ลท อี่ อก
มาเป็นไปได้ 3 ทาง คือ ผลท ี่ออกม าเท่ากับม าตรฐานพ อดี สูงก ว่าม าตรฐาน และต ํ่าก ว่ามาตรฐาน
1) ผลท อี่ อกม าเทา่ กบั ม าตรฐานพ อดีคอื ไมม่ ผี ลแ ตกต า่ งย อ่ มแ สดงว า่ การป ฏบิ ตั งิ านบ รรลเุ ปา้ ห มาย
แล้ว
2) สูงก ว่ามาตรฐานห รือเป็นไ ปในท างดี ย่อมแ สดงถึงก ารท ำ�งานม ีป ระสิทธิภาพสูง
3) แต่ถ้าผลเปรียบเทียบออกมาต่ํากว่ามาตรฐานเป็นไปในทางลบ แสดงว่าเกิดข้อบกพร่องอย่าง
ใดอย่างห นึ่งข ึ้น ซึ่งผู้บ ริหารต ้องต รวจสอบถึงส าเหตุว ่าเกิดขึ้นที่จ ุดใด เพราะอ ะไร และต้องดำ�เนินการแก้ไข
ทันที เพื่อป ้องกันไม่ให้เกิดข้อบ กพร่องน ี้อีก
4. การด�ำ เนนิ ก ารแ กไ้ ขงานเทคโนโลยีและส อื่ สารการศกึ ษา
การด �ำ เนนิ ก ารแ กไ้ ขง านเทคโนโลยแี ละส ือ่ สารก ารศ กึ ษา เปน็ ข ัน้ ต อนส ดุ ทา้ ยข องก ารค วบคมุ เปน็ อ งค์
ประกอบส ำ�คัญแ ละจ ำ�เป็นท ี่สุด หากข าดข ั้นต อนถ ือว่าไม่มีก ารค วบคุมเกิดข ึ้น ในก รณีน ี้ผ ลก ารป ฏิบัติง านต ํ่า
กว่ามาตรฐานก็แ สดงว ่ามีข ้อผิดพ ลาดบ กพร่องเกิดข ึ้น ผู้บ ริหารจำ�เป็นต ้องด ำ�เนินก ารแ ก้ไขข ้อผิดพ ลาดน ั้น